Page 95 -
P. 95

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       ตารางที่ 7.2 สรุปตัวแปรอิสระที่ใช้การวิเคราะห์การรู้จักตลาด TFEX


                        ตัวแปร       สัญลักษณ์         ความหมาย     ชนิดตัวแปร   รายละเอียด (ระดับชั้น/ หน่วยตัวแปร)
                             1   Region*            ภาค (จังหวัด)   เชิงคุณภาพ  3 ระดับชั้น ได้แก่ ภาคใต้, ภาคอีสาน,

                                (Region Code1-3)                               ภาคตะวันออก
                             2   Edu*               ระดับการศึกษา   เชิงคุณภาพ  3 ระดับชั้น ได้แก่ ต่ ากว่าประถมศึกษาปี

                                (Edu Code1-3)                                  ที่ 6, มัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า/ปวช.ถึง
                                                                               อนุปริญญา/ปวส., ปริญญาตรีขึ้นไป
                             3   Career*            อาชีพ           เชิงคุณภาพ  3 ระดับชั้น ได้แก่ ปลูกยางอย่างเดียว,
                                (Career Code1-3)                               ปลูกยางและท าการเกษตรอื่น, ปลูกยาง
                                                                               และมีอาชีพนอกภาคเกษตร
                             4   Log (Size)         พื้นที่ปลูกยาง   เชิงปริมาณ   หน่วย: log (ไร่)
                             5   RubberType*        ลักษณะผลิตภัณฑ์ เชิงคุณภาพ  3 ระดับชั้น ได้แก่ น้ ายางดิบ, ยางถ้วย,

                                (RubberType Code1-3)  ยาง                      ยางแผ่นรมควัน
                       หมายเหตุ: * คือ ตัวแปรหุ่น (Dummy Variable) และก าหนด Code1 เป็นชั้นที่ใช้เปรียบเทียบ (Reference Category) โดยที่
                               ความหมายของแต่ละ Code จะเรียงล าดับตามค าอธิบายรายละเอียดระดับชั้นตามล าดับ

                       7.1.2 ความต้องการใช้ตลาดล่วงหน้าของเกษตรกรผู้ปลูกยางพารารายย่อย



                              การวิเคราะห์จากกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรผู้ปลูกยางพารารายย่อยถึงปัจจัยในความต้องการใช้
                       ผลิตภัณฑ์ซื้อขายยางพาราล่วงหน้า (TFEX) ทั้งนี้เพื่อศึกษาระดับความส าคัญของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผล

                       ต่อโอกาสความต้องการใช้ตลาด TFEX และน าไปสู่พื้นฐานในการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับ

                       เกษตรกรผู้ปลูกยางพารารายย่อยต่อไป ด้วยวิธีการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกจากตัวแปรตามเป็น
                       ตัวแปรทวิ (Dichotomous) ที่สนใจ 2 เหตุการณ์ ก าหนดค่าเป็น 0 และ 1 และตัวแปรอิสระที่มีผล

                       ต่อโอกาสความต้องการใช้ตลาด TFEX เป็นข้อมูลเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพก็ได้


                              การวิเคราะห์ความต้องการใช้ตลาด TFEX เมื่อพิจารณาตัวแปรตามจากผลการตอบ

                       แบบสอบถามของเกษตรกรผู้ปลูกยางพารารายย่อยด้วยค าถาม “เกี่ยวกับตลาดซื้อขายยางพารา
                       ล่วงหน้า (TFEX) ท่านเคยใช้หรือคิดที่จะใช้ตลาดซื้อขายยางพาราล่วงหน้าหรือไม่” ผลของการตอบ

                       พบว่า เกษตรกรผู้ปลูกยางพารารายย่อยต้องการใช้ตลาด TFEX เป็นส่วนน้อยเพียง 41 คน (หรือ

                       10.35%) และไม่ต้องการใช้ตลาด TFEX เป็นส่วนมากถึง 355 คน (หรือ 89.65%) โดยแทนค่าค าตอบ
                       1 ในการตอบว่า “เคยใช้, คิดที่จะใช้แต่โดนปฏิเสธ และคิดที่จะใช้” และแทนค่าค าตอบ 0 ในการตอบ

                       ว่า “ไม่คิดจะใช้เลย” แสดงดังตารางที่ 7.3







                                                                                                        82
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100