Page 92 -
P. 92

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                                         บทที่ 7


                         การวิเคราะห์พฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของเกษตรกรผู้ปลูกยางพารารายย่อย


                       ในบทนี้น าเสนอการศึกษาพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของเกษตรกรผู้ปลูกยางพารารายย่อย โดย

               คณะผู้วิจัยจะท าการวิเคราะห์ข้อมูลจากเกษตรกรผู้ปลูกยางพารารายย่อยจาก 3 จังหวัดที่เป็นตัวแทนของแต่

               ละภาค คือ สงขลา (ภาคใต้), อุบลราชธานี (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/เหนือ) และจันทบุรี (ภาคตะวันออก/
               กลาง) วัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบพฤติกรรมและความต้องการในการป้องกันความเสี่ยงของเกษตรกรผู้ปลูก

               ยางพารารายย่อยซึ่งน ามาสู่การใช้ประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมของตลาดล่วงหน้า (TFEX) และน าไปสู่
               พื้นฐานในการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับเกษตรกรผู้ปลูกยางพารารายย่อยต่อไป โดยเริ่มจากการ

               วิเคราะห์เบื้องต้นของกลุ่มตัวอย่างถึงปัจจัยในการรู้จักผลิตภัณฑ์ซื้อขายยางพาราล่วงหน้า (TFEX) จากนั้นจึง

               ท าการวิเคราะห์ความต้องการใช้ตลาดล่วงหน้า (TFEX) ของเกษตรกรผู้ปลูกยางพารารายย่อย โดยแบ่งเป็น
               ส่วนที่ 7.1 วิธีการวิเคราะห์ผลการศึกษา ส่วนที่ 7.2 ผลการวิเคราะห์การศึกษา และส่วนที่ 7.3 สรุปผล

               การศึกษา


               7.1 วิธีการวิเคราะห์ผลการศึกษา


                       ในการวิเคราะห์เบื้องต้นของกลุ่มตัวอย่างแสดงถึงปัจจัยในการรู้จักผลิตภัณฑ์ซื้อขายยางพาราล่วงหน้า

               (TFEX) และการวิเคราะห์ความต้องการใช้ตลาดล่วงหน้า (TFEX) ของเกษตรกรผู้ปลูกยางพารารายย่อย จะใช้

               การวิเคราะห์เชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) ด้วยวิธีการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก (Logistic
               Regression) เป็นเทคนิคการวิเคราะห์ตัวแปรเชิงพหุ (Multivariate Analysis) ซึ่งตัวแปรตามดังกล่าวที่

               ต้องการศึกษามีลักษณะไม่ต่อเนื่อง (Discrete Variable) และเป็นตัวแปรเชิงกลุ่ม เช่น กลุ่มช าระหนี้หรือกลุ่ม

               ผิดนัดช าระหนี้ กลุ่มก าไรหรือขาดทุน เป็นต้น การวิเคราะห์ทั้ง 2 ตัวแบบดังกล่าว แสดงสมการพื้นฐาน ดังนี้


                                                                −(   0 +∑       +   )
                                                                              
                                                                              
                                                                       
                                                                
                                                     (   = 1) =  1+   −(   0 +∑       +   )                                                 (1)
                                                      
                                                                               
                                                                               
                                                                        

                       โดยที่     คือ ตัวแปรตามที่สนใจศึกษา (1 คือ สนใจศึกษา, 0 คือ ไม่สนใจศึกษา)
                                 
                                  คือ ตัวแปรอิสระที่สนใจศึกษา
                                   
                                  คือ ค่าคงที่
                               0
                                  คือ สัมประสิทธิ์การถดถอยโลจิสติก
                                 

                       การศึกษาครั้งนี้ใช้การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก ในวัตถุประสงค์หลักเพื่อวิเคราะห์ความต้องการ
               ใช้ตลาด TFEX ของเกษตรกรผู้ปลูกยางพารารายย่อย ท าการวิเคราะห์ข้อมูลจากเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราราย



                                                                                                        79
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97