Page 127 -
P. 127

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                           3+
                        2) Al  ในสารละลายดิน ได้มาจากการผุพังและสลายตัวของแร่ต่างๆ ซึ่งความเข้มข้นจะสูง
            เมื่อดินเป็นกรดจัด แต่ถ้าดินมีพีเอชสูงกว่า 5.5 อะลูมินัมไอออนในสารละลายดินจะมีน้อยกว่า 1 มิลลิกรัม

            ต่อลิตร ส�าหรับรูปที่รากพืชดูดได้และหากสะสมมากจะเป็นพิษ (phytotoxic form) คือ อะลูมินัมไอออน
                           3+
            ประจุบวกสาม (Al )
                           อะลูมินัมเป็นแคตไอออนกรด (acid cation) ที่ส�าคัญในดินซึ่งมีสภาพกรดจัด โดยอะลูมินัม

                                                             3+
            ส่วนใหญ่อยู่ในรูป hexa-aqua-aluminum ion [Al(H O) ] มีโครงสร้างแบบออกตะฮีดรอน เนื่องจาก
                                                         2  6
              3+
            Al เป็นไอออนที่มีขนาดเล็กและมีประจุบวกสาม  (+3)  จึงมีน�้าจ�านวน  6  โมเลกุลมาเกาะแน่นโดยรอบ
            (hydration shell) ได้โครงสร้างเป็นทรงหกเหลี่ยม
                    3) อะลูมินัมแลกเปลี่ยนได้ คือ อะลูมินัมซึ่งดูดซับกับประจุลบที่ผิวของคอลลอยด์ดินประเภท
            ต่างๆ อะลูมินัมแลกเปลี่ยนได้มีภาวะสมดุลกับ Al  ในสารละลายดิน
                                                     3+
                    6.1.2 รูปของอะลูมินัมที่มีมากในแต่ละช่วงพีเอช
                      ในแต่ละช่วงพีเอชของดิน  รูปของอะลูมินัมในดินที่มีมากแสดงไว้ในตารางที่  4.4  ส�าหรับ

            ความสัมพันธ์ระหว่างพีเอชกับการกระจายและจ�านวนประจุของอะลูมินัมชนิดต่างๆ  คือ  ในช่วงพีเอช
                                                                  3+
            4.7-7.5 นั้น เมื่อพีเอชของสารละลายดินสูงขึ้น การละลายของ Al  ลดลง เนื่องจากอะลูมินัมตกตะกอน
            อยู่ในรูป Al(OH)
                           0
                          3
            ตารางที่ 4.4 รูปของอะลูมินัมในดินที่มีมากในแต่ละช่วง pH


                                pH                                     ชนิดที่มีมาก


                                <4.7                                       Al 3+
                              4.7-6.5                                   Al(OH) 2+

                              6.5-8.0                                   Al(OH)  0
                                                                               3
                                >8.0                                     Al(OH) 4-

             ที่มา : Essington (2004)



                 6.2 ผลของอะลูมินัมต่อข้าว
                    6.2.1 กลไกความเป็นพิษของอะลูมินัมในข้าว

                        แม้ว่าอะลูมินัมในสารละลายดินมีหลายรูป  แต่อะลูมินัมไอออน  (Al )  เป็นพิษต่อพืช
                                                                                   3+
            มากที่สุด  และอะลูมินัมกับเหล็กเป็นสองธาตุส�าคัญ  ที่ท�าให้ข้าวในดินเปรี้ยวจัดมีการเจริญเติบโตช้าและ
            ผลผลิตลดลง (Tanaka and Navasero, 1966) อะลูมินัมท�าให้รากข้าวไม่เจริญเติบโต ลดความสามารถ

            ในการดูดน�้าและธาตุอาหาร  รากเกาะยึดดินไม่มั่นคง  ท�าให้ต้นข้าวล้มง่าย  อาการแรกของพืชที่แสดงว่า



                    ดิน ธาตุอาหารและปุ๋ยข้าว                       ดินนาที่เป็นปัญหาต่อการปลูกข้าว  123
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132