Page 17 -
P. 17

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว











                                                       บทสรุปผู้บริหาร


                               ไหมอีรี่นั้นได้ถูกน ำมำส่งเสริมให้เกษตรกรในประเทศไทยเลี้ยงมำเป็นเวลำนำนกว่ำ 40  ปี
                       แต่อุตสำหกรรมไหมอีรี่ก็ยังไม่สำมำรถพัฒนำเป็นอุตสำหกรรมเชิงพำณิชย์ได้อย่ำงเต็มตัว เนื่องจำก

                       ปัญหำและขำดข้อมูลในหลำยๆด้ำน โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในระดับต้นน้ ำ กล่ำวคือกำรผลิตไหมอีรี่ของ
                       เกษตรกรยังมีปัญหำในด้ำนต่ำงๆ มำกมำย เช่น ปัญหำกำรส่งวัตถุดิบให้กับโรงงำนขำดควำมต่อเนื่อง

                       ปัญหำคุณภำพและมำตรฐำนไหมอีรี่ ปัญหำกำรเก็บรักษำไหมอีรี่ เป็นต้น ดังนั้นงำนวิจัยนี้จึงมี

                       วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษำสภำพทั่วไปด้ำนกำรผลิต กำรตลำดและควำมเชื่อมโยงของห่วงโซ่อุปทำน
                       ไหมอีรี่ในปัจจุบัน 2) ศึกษำศักยภำพกำรผลิตไหมอีรี่ในเชิงพำณิชย์ 3) ศึกษำปัจจัยสู่ควำมส ำเร็จของ

                       กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตไหมอีรี่ และ 4) เสนอแนะแนวทำงกำรพัฒนำไหมอีรี่ในระดับต้นน้ ำในเชิง
                       อุตสำหกรรม โดยกำรส ำรวจเชิงพื้นที่ส ำหรับเกษตรกรและกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ 5  จังหวัดได้แก่

                       จังหวัดนครสวรรค์ เชียงใหม่ เชียงรำย สระแก้ว อ ำนำจเจริญ ทั้งหมด 133  ตัวอย่ำง และท ำกำร

                       สัมภำษณ์เชิงลึกผู้ประกอบกำรและหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง และท ำกำรวิเครำะห์ภำยใต้กรอบแนวคิด
                       ของแบบจ ำลอง Supply Chain Operation Reference (SCOR) และ Business Model Canvas

                       (BMC)
                               เมื่อพิจำรณำถึงตลำดไหมโลกในภำพรวมพบว่ำ ตลำดไหมแนวโน้มเติมโตอย่ำงต่อเนื่อง โดย

                       มีกำรกระจุกตัวสูงในภูมิภำคเอเชียแปซิฟิก ซึ่งผู้น ำตลำดไหมได้แก่ จีน และอินเดีย ซึ่งเป็นทั้งผู้ผลิต

                       ไหมดิบและผู้ใช้ไหมหลัก โดยไหมหม่อนเป็นไหมหลักในตลำดและมีกำรใช้ในทุกภูมิภำค ในขณะที่ไหม
                       อีรี่มีกำรใช้ในระดับอุตสำหกรรมเฉพำะในตลำดอินเดีย ถึงแม้ว่ำประเทศไทยจะมีกำรผลิตไหมอีรีด้วยก็

                       ตำมแต่ปริมำณยังไม่มำกนัก ส ำหรับแรงผลักดันส ำคัญที่ท ำให้ตลำดไหมเติบโตได้แก่ กำรเติบโตของ
                       อุตสำหกรรมสิ่งทอซึ่งเป็นผู้ใช้ไหมหลัก และปัจจัยที่ท ำอุตสำหกรรมสิ่งทอเติบโตได้แก่ ควำมก้ำวหน้ำ

                       ทำงเทคโนโลยี กำรสนับสนุนในด้ำนกำรผลิตจำกภำครัฐ และก ำลังซื้อของคนชั้นกลำงที่เพิ่มสูงขึ้น

                       เช่นเดียวกันกำรพัฒนำอุตสำหกรรมไหมจ ำเป็นต้องได้รับควำมช่วยเหลือจำกภำครัฐในกำรพัฒนำ
                       เทคโนโลยีกำรเลี้ยงและหลังเลี้ยง เพื่อให้กำรเลี้ยงไหมและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์สำมำรถท ำได้อย่ำงมี

                       ประสิทธิภำพ

                               ส ำหรับโซ่อุปทำนไหมอีรี่ของไทยเริ่มตั้งแต่ต้นน้ ำ คือกำรเลี้ยงไหม จนมำอุตสำหกรรมกลำง

                       น้ ำได้แก่ กำรปั่นด้ำยและกำรทอผ้ำ ไหมอีรี่เป็นไหมที่กินมันส ำปะหลังและใบละหุงเป็นอำหำร กำร

                       เลี้ยง 1 รอบต้องใช้ระยะเวลำประมำณ 17-20 วัน 1 ปีเลี้ยงได้หลำยรุ่นขึ้นอยู่กับจ ำนวนแรงงำนที่มี
                       ยกเว้นหน้ำร้อน กำรเลี้ยงไหมอีรี่ใช้พื้นที่ไม่มำก สำมำรถเลี้ยงที่ใต้ถุนบ้ำน หรือสร้ำงโรงเรือนแยก

                       ต่ำงหำก วัสดุอุปกรณ์ที่จ ำเป็นในกำรเลี้ยงไหมอีรี่ได้แก่ กระด้ง มุ้ง เมื่อไหมอีรี่สุก ก็ท ำกำรตัดแยก
                       ดักแด้ออกรัง โดยน ำรังไหมและดักแด้ไปจ ำหน่ำย และอำจน ำรังไหมไปลอกกำว ปั่นเป็นเส้นด้ำย และ

                       แปรรูปเป็นผ้ำต่อไปก็ได้ กำรปั่นด้ำยและกำรทอผ้ำอำจท ำได้ด้วยเกษตรกรเอง หรือน ำเข้ำสู่โรงงำน


                                                                i
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22