Page 95 -
P. 95

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               11.  ผลที่คำดว่ำจะได้รับ

               ผลผลิต (Output)

                       1.   สร้างอาชีพการเลี้ยงโคเนื้ออย่างยั่งยืนแก่เกษตรกรรายย่อย 400 ราย
                       2.   เพิ่มแม่โคเนื้อพันธุ์ดีเข้าสู่ระบบการผลิตโคเนื้อของประเทศ  2,000 ตัว เป็นฐานการผลิต

               ของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อต้นน�้า สร้างรายได้แก่ประเทศปีละไม่น้อยกว่า 48 ล้านบาท
                       3.   ผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากมูลโคปีละ 3,000 ตัน คิดเป็นมูลค่า 6 ล้านบาท/ปี
                       4.   เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์จากมูลโคผลิตก๊าซชีวภาพเพื่อใช้หุงต้มในครัวเรือน และกากมูล

               ที่เหลือสามารถน�าไปใช้เป็นปุ๋ยอินทรีย์เพื่อปรับปรุงดินได้ด้วย
                       5.  หลังจากปีที่ 3 ผลิตลูกโคเนื้อเข้าสู่ระบบการผลิตโคเนื้อของประเทศได้ปีละ 1,600 ตัวเกษตรกร
               มีรายได้จากการผลิตลูกโคเนื้อ (ลูกหย่านมหลังจากปีที่ 3) ปีละ 4 ตัวๆ ละ 30,000 บาท หรือเท่ากับ

               120,000 บาท/ปี

               ผลลัพธ์ (Outcome)
                       1.   เกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น ลดภาระเรื่องเงินลงทุนและการจ่ายค่าดอกเบี้ย

               ในช่วงระยะเวลาที่โคเนื้อยังไม่ให้ผลผลิต และสร้างรายได้แก่เกษตรกรอย่างยั่งยืน ทั้งรายได้จากการจ�าหน่ายมูลโค
               ส�าหรับเป็นค่าใช้จ่ายในครัวเรือน และรายได้จากการผลิตลูกโคเนื้อจ�าหน่ายหรือเลี้ยงขุนเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
               ซึ่งผลตอบแทนที่ได้มีความคุ้มค่าและจูงใจให้เกษตรกรเลี้ยงโคเนื้อเป็นอาชีพผสมผสานกับอาชีพเกษตรกรรมอื่นๆ

                       2.   สร้างความมั่นคงทางอาหารด้านโคเนื้อ แก้ไขปัญหาขาดแคลนโคเนื้อแม่พันธุ์ที่จะผลิตลูกโค
               เข้าสู่ห่วงโซ่การผลิตโคเนื้อของประเทศ
                       3.   ปรับเปลี่ยนรูปแบบการเลี้ยงโคเนื้อให้สอดคล้องกับข้อจ�ากัดด้านพื้นที่และสถานการณ์แรงงาน

               ของประเทศ และเพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จากมูลโคได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                       4.   ใช้ปุ๋ยอินทรีย์จากมูลโคปรับปรุงคุณภาพดินส�าหรับเพาะปลูกพืชอื่นๆ ได้ 3,000 ไร่ ลดต้นทุน
               ค่าปุ๋ย และมีผลผลิตจากพืชอื่นเพิ่มขึ้น

                       5.   ลดการน�าเข้าโคเนื้อมีชีวิตและเนื้อโคช�าแหละ รวมถึงปุ๋ยเคมีจากต่างประเทศ
                       6.   สร้างความเข้มแข็งแก่เกษตรกร/กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อ เครือข่ายและธุรกิจสหกรณ์โคเนื้อ

               เชื่อมโยงมูลค่าตลอดห่วงโซ่การผลิต (Value Chain) โคเนื้อทั้งระบบ

               ผลกระทบ (Impact)

                       เชิงบวก
                       1.   ปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสมเป็นพื้นที่ปลูกพืชอาหารสัตว์ ไม่น้อยกว่า 500 ไร่

                       2.   สร้างอาชีพการปลูกพืชอาหารสัตว์และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์แก่เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร และ
               สหกรณ์การเกษตร และจะเป็นต้นแบบในการพัฒนาอาชีพเพื่อเกษตรกรต่อไป
                       3.   ลดความเสี่ยงการเกิดโรคระบาดสัตว์จากการลักลอบน�าเข้าโคเนื้อมีชีวิตและเนื้อโคช�าแหละ

                       เชิงลบ

                       - ไม่มี -





                                                                           คู่มือปฏิบัติงาน การผลิตโคเนื้อเชิงการค้า ส�าหรับเจ้าหน้าที่  93
                                                                     Commercial Beef Cattle Production Work Manual Official Edition
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100