Page 94 -
P. 94

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






            ด้ำนกำรบริหำรโครงกำร
                    กรมปศุสัตว์เป็นหน่วยงานหลักที่บูรณาการงานของโครงการ มีศักยภาพในการท�าการศึกษาวิจัย

            มีองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านพันธุ์สัตว์ ด้านอาหารสัตว์ ด้านเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์ ด้านการปองกัน
            ก�าจัดโรคระบาดสัตว์ ตลอดจนด้านการส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ โดยมีหน่วยงานและบุคลากรกระจายอยู่
            ทั่วประเทศเพื่อให้บริการเกษตรกร โดยเฉพาะระดับอ�าเภอที่ให้บริการใกล้ชิดกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร

            และเกษตรการที่เข้าร่วมโครงการมากที่สุด อันประกอบไปด้วยเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ของส�านักงานปศุสัตว์อ�าเภอ
            ปศุสัตว์ต�าบล และอาสาปศุสัตว์ในระดับหมู่บ้าน ซึ่งเจ้าหน้าที่เหล่านี้เป็นกลไกส�าคัญในการผลักดันให้

            โครงการฟาร์มโคเนื้อสร้างอาชีพบรรลุผลสัมฤทธิ์ได้
                    ส�าหรับการบริหารโครงการในส่วนของสถาบันเกษตรกร สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
            จะต้องมีการวางแผนการผลิตแบบมีตลาดที่แน่นอน มีระบบบริหารจัดการเครือข่ายที่เชื่อมโยงกันตลอดห่วงโซ่

            การผลิต ตั้งแต่เครือข่ายผู้เลี้ยงโคต้นน�้า (เลี้ยงแม่โคเพื่อผลิตลูก) และเครือข่ายผู้เลี้ยงโคกลางน�้า (เลี้ยงโครุ่น
            หรือโคขึ้นโครงสร้าง) เพื่อเข้าไปเชื่อมกับเครือข่ายผู้เลี้ยงโคปลายน�้า (เลี้ยงโคขุน) ผู้ประกอบการโรงฆ่าสัตว์

            ผู้ค้าส่ง ผู้จัดจ�าหน่ายและผู้ค้าปลีก ทั้งนี้ มีสหกรณ์โคเนื้อที่ท�าธุรกิจครบวงจรตั้งแต่การผลิตโคเนื้อต้นน�้า
            การแปรรูป ไปจนถึงการตลาด เข้าร่วมโครงการ จ�านวน 5 สหกรณ์ ได้แก่
                    1.  สหกรณ์โคเนื้อ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�าแพงแสน จ�ากัด

                    2.  สหกรณ์การเลี้ยงสัตว์ กรป.กลาง โพนยางค�า จ�ากัด
                    3.  สหกรณ์เครือข่ายโคเนื้อ จ�ากัด
                    4.  สหกรณ์การเกษตรหนองสูง จ�ากัด

                    5.  สหกรณ์ตากบีฟ จ�ากัด
                    ซึ่งสหกรณ์เหล่านี้จะเชื่อมโยงการผลิตกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อต้นน�้า เพื่อสร้าง
            ความเป็นธรรมในผลตอบแทนที่ได้รับ มีการประกันราคาผลผลิตหรือรายได้ที่แน่นอน ซึ่งจะเป็นการสร้าง

            ความเข้มแข็งแก่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรและเครือข่ายการผลิตโคเนื้อของประเทศ สร้างอาชีพการเลี้ยงโคเนื้อ
            แก่เกษตรกรอย่างยั่งยืน

            ด้ำนกำรเงิน

                    กรมปศุสัตว์จะใช้เงินงบประมาณเพื่อสนับสนุนการด�าเนินโครงการฟาร์มโคเนื้อสร้างอาชีพประมาณ
            20 ล้านบาท ดังนี้

                    1.  การผสมเทียมแม่โคเนื้อ ประมาณ 12 ล้านบาท
                    2.  การท�าเครื่องหมายประจ�าตัวสัตว์และขึ้นทะเบียนสัตว์แห่งชาติ (NID) ประมาณ 4 ล้านบาท
                    3.  การสนับสนุนท่อนพันธุ์พืชอาหารสัตว์ ประมาณ 2 ล้านบาท
                    4.  การส่งเสริมพัฒนาและถ่ายทอดความรู้การเลี้ยงโคเนื้อแบบประณีตแก่เกษตรกรประมาณ 2 ล้านบาท


            10.  ตัวชี้วัด
                    1.   ร้อยละ 80 ของเกษตรกรสามารถประกอบอาชีพการเลี้ยงโคเนื้อได้อย่างยั่งยืน

                    2.   ปริมาณโคเนื้อพันธุ์ดีเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 1,600 ตัว/ปี
                    3.   เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นปีละไม่น้อยกว่า 120,000 บาท/ราย/ปี
                    4.   ปริมาณการส่งออกโคเนื้อมีชีวิตและเนื้อโคช�าแหละเพิ่มขึ้น ปริมาณการน�าเข้าโคเนื้อมีชีวิตและ

            เนื้อโคช�าแหละลดลง

      92    คู่มือปฏิบัติงาน การผลิตโคเนื้อเชิงการค้า ส�าหรับเจ้าหน้าที่
            Commercial Beef Cattle Production Work Manual Official Edition
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99