Page 87 -
P. 87

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                                                                                      โครงการลุ่มน�้าก�่าที่มีชีวิต
                                                         The Reviving of Kum River Basin Project


                        มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ได้จัดท�าโครงการลุ่มน�้าก�่าที่มีชีวิต เป็นโครงการ
                ต่อยอดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9
                ได้ทรงมีพระราชด�าริให้กรมชลประทานพิจารณาวางโครงการเพื่อก่อสร้างโครงการพัฒนาลุ่มน�้าก�่า จังหวัดสกลนคร-นครพนม
                และทรงวางโครงการด้วยพระองค์เอง เพื่อช่วยแก้ปัญหาน�้าท่วมพื้นที่ เพาะปลูกในฤดูฝน และช่วยราษฎรในบริเวณ 2 ฝั่งล�าน�้าก�่า
                ให้มีน�้าใช้ในการเกษตร การอุปโภค – บริโภคในฤดูแล้งด้วย โดยการจัดท�าแผนที่แปลงกรรมสิทธิ์ในเขตชลประทาน และ
                วิทยาเขตฯ ด�าเนินการจัดท�าแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน ศึกษาสภาพเศรษฐกิจและสังคม การบริหารจัดการของกลุ่มผู้ใช้น�้า
                ตลอดจนการศึกษาระบบการขนส่งสินค้าจากแปลงผลิตของเกษตรกรสู่โรงงานหลวงอาหารส�าเร็จรูปที่ 3 (เต่างอย) เพื่อสร้าง
                อาชีพและรายได้ให้แก่ประชาชน โดยมีแนวทางในการปฏิบัติกับองค์กรภาคีเครือข่าย ดังนี้
                        1. ชุมชน ต้อง เข้มแข็ง
                        2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องสนับสนุน
                        3. หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องต้องสนับสนุนปัจจัยการผลิตพื้นฐานที่จ�าเป็น เช่น กรมชลประทาน เรื่องน�้า
                กรมพัฒนาที่ดิน เรื่องการปรับปรุงดินให้มีคุณภาพ
                        4. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) ขับเคลื่อนกระบวนการสร้างชุมชนและการท�าบัญชีครัวเรือน
                ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
                        5. สถาบันการศึกษาที่น�าองค์ความรู้ที่มีอยู่เข้าไปเสริมสร้างศักยภาพและปัญญาให้กับเกษตรกร โดยมี มหาวิทยาลัย
                เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร เป็นผู้น�าทางด้านวิชาการ

                        Kasetsart University Chalermphrakiat Sakon Nakhon Province Campus has launched the Reviving of
                Kum River Basin Project as a further project of the royally initiated Kum Basin Development Project.
                        In November, 1992 His Majesty the King had asked the Department of Royal Irrigation to set up the
                Kum Basin Development Project in Sakon Nakhon and Nakhon Panom provinces to help solve flooding
                problems in farmlands during the rainy season and to provide enough water for farming and household con-
                sumption during the dry season. Maps of plot ownership within the irrigation vicinity had been made.
                        The reviving of Kum River Basin Project aims to prepare maps of land utilization; study economic and
                social conditions of people in the area, water management and logistic systems from farmland to the third
                royal factory at Tao Ngoi. The purpose of this project is to create jobs and stable income for the local
                community. To seek out cooperation among network organization guidelines have been set as follows:
                        1. Local community should be strongly united.
                        2. Local governments should provide support to the local community.
                        3. Government offices involved should provide basic factors of production such as water management
                by Department of Royal Irrigation, improvement of soil by Department of Land Development
                        4. The Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives should act as a driving force for building
                stronger communities and promoting the use of household accounts according to the sufficiency economy philosophy.
                        5. Education institutions led by Kasetsart University Chalermphrakiat Sakon Nakhon Province Campus
                should tranfer knowledge to the local community to help people develop their potential.

                                                                                                    ทศวรรษ วิวัฒนศาสตร์แห่งแผ่นดิน
                                                                                                  2 Decades of Evalution of Knowledge of the Land หน้า 83
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92