Page 99 -
P. 99
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตารางที่ 7.6 ผลการวิเคราะห์ฟังก์ชันอรรถประโยชน์ของกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรผู้ปลูกพืชผักในแต่ละ
คุณลักษณะการจัดการศัตรูพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมปี พ.ศ. 2559
คุณลักษณะ กลุ่มตัวอย่างเกษตรกรผู้ปลูกพืชผัก
ค่าสัมประสิทธิ์ ค่าสถิติ
ระบบนิเวศมีศัตรูธรรมชาติมาก มีการปนเปื้อนของสารเคมีต่อสิ่งแวดล้อมน้อย และไม่มี 1.686929 *** 6.92
ตราตรารับรองฯ (Ecosystem)
ระบบนิเวศมีศัตรูธรรมชาติมาก มีการปนเปื้อนของสารเคมีต่อสิ่งแวดล้อมน้อย และมีตรา 1.877861 *** 7.43
ตรารับรองฯ (Ecolabel)
ผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์ในระยะยาว มีความเสี่ยงเป็นมะเร็งไม่สูงขึ้น (Health) 2.418092 *** 7.96
ผลผลิตที่ได้จากการจัดการศัตรูพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ขายตรงสู่ห้างสรรพสินค้า -0.2674915 ns -1.36
(Store)
ผลผลิตที่ได้จากการจัดการศัตรูพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ส่งออกไปต่างประเทศ -0.2452976 ns -0.94
(Export)
มีการจัดฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน (IPM) 0.9592719 *** 4.59
ทางเลือกที่เกษตรกรผู้ปลูกผักมีการจัดการศัตรูพืชรูปแบบเดิม (Existing) 1.657125 *** 4.49
ค่าใช้จ่ายในการผลิตที่เพิ่มขึ้น (Price) -0.0001535 ** -2.36
Log likelihood -908.05799
LR ch2 (8) 350.63
Prob>chi2 0.0000
หมายเหตุ: *** หมายถึง ค่าสัมประสิทธิ์ของตัวแปรมีนัยส าคัญทางสถิติระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99
** หมายถึง ค่าสัมประสิทธิ์ของตัวแปรมีนัยส าคัญทางสถิติระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95
ส าหรับค่าสัมประสิทธิ์ที่ได้จากฟังก์ชันอรรถประโยชน์ทางอ้อมของกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรผู้ปลูกพืชผักใน
จังหวัดปทุมธานี นครปฐม และราชบุรี สามารถน ามาจัดล าดับความส าคัญของระดับต่างๆ ในแต่ละคุณลักษณะ
การจัดการศัตรูพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมพบว่า กลุ่มตัวอย่างเกษตรกรผู้ปลูกพืชผักส่วนใหญ่ให้ความส าคัญกับ
การจัดการศัตรูพืชที่จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์ในระยะยาว ซึ่งมีค่าอรรถประโยชน์ทางอ้อมเท่ากับ
2.418092 รองลงมาคือ การจัดการศัตรูพืชที่ท าให้ระบบนิเวศมีศัตรูธรรมชาติจ านวนมาก มีการปนเปื้อนของ
สารเคมีต่อสิ่งแวดล้อมน้อยรวมทั้งมีตรารับรอง ซึ่งมีค่าอรรถประโยชน์ทางอ้อมเท่ากับ 1.877861 ส่วนการจัดการ
ศัตรูพืชที่ท าให้ระบบนิเวศมีศัตรูธรรมชาติจ านวนมาก มีการปนเปื้อนของสารเคมีต่อสิ่งแวดล้อมน้อย แต่ไม่มีตรา
84