Page 95 -
P. 95
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
7.2.1 การวิเคราะห์ความพึงพอใจต่อทางเลือกในการจัดการศัตรูพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมใน
ประเทศไทย
แบบจ าลองที่น ามาใช้ในการวิเคราะห์ คือ แบบจ าลอง Mixed Logit และใช้การประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยวิธี
Simulated Maximum Likelihood ในการวิเคราะห์ฟังก์ชันอรรถประโยชน์ทางอ้อม (V) ของเกษตรกรผู้ปลูก
i
พืชผัก ซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรผู้ปลูกพืชผักจากจังหวัดปทุมธานี นครปฐม และราชบุรี จ านวน
303 ตัวอย่าง ดังสมการที่ 1
V i = β Existing + β Ecosystem + β Ecolabel + β Health + β Store+ β Export+ β IPM +
1
0
2
5
6
3
4
Price……………………………………………………………………………………………………………………………………(1)
โดยมีรายละเอียดของตัวแปรอิสระดังนี้ คือ
V คือ อรรถประโยชน์ทางอ้อมของเกษตรกรผู้ปลูกพืชผัก
i
β 0 คือ ค่าสัมประสิทธิ์ของทางเลือก Existing
β 1 คือ ค่าสัมประสิทธิ์ของตัวแปรคุณลักษณะต่างๆ
คือ ค่าสัมประสิทธิ์ของราคา หรืออรรถประโยชน์ส่วนเพิ่มของเงิน
Existing คือ ทางเลือกที่เกษตรกรผู้ปลูกผักมีการจัดการศัตรูพืชรูปแบบเดิม,
(1 = ทางเลือกที่เกษตรกรผู้ปลูกผักมีการจัดการศัตรูพืชรูปแบบเดิม
0 = ทางเลือกที่เกษตรกรผู้ปลูกผักมีการจัดการศัตรูพืชรูปแบบตามทางเลือกที่น าเสนอ)
Ecosystem คือ ระบบนิเวศมีศัตรูธรรมชาติมาก มีการปนเปื้อนของสารเคมีต่อสิ่งแวดล้อมน้อย
และไม่มีตราตรารับรองฯ,
(1 = ระบบนิเวศมีศัตรูธรรมชาติมาก มีการปนเปื้อนของสารเคมีต่อสิ่งแวดล้อมน้อย
และไม่มีตราตรารับรองฯ
0 = ระบบนิเวศมีศัตรูธรรมชาติน้อย มีการปนเปื้อนของสารเคมีต่อสิ่งแวดล้อมสูง และไม่มี
ตราตรารับรองฯ,
0 = ระบบนิเวศมีศัตรูธรรมชาติมาก มีการปนเปื้อนของสารเคมีต่อสิ่งแวดล้อมน้อย และมี
ตราตรารับรองฯ)
Ecolabel คือ ระบบนิเวศมีศัตรูธรรมชาติมาก มีการปนเปื้อนของสารเคมีต่อสิ่งแวดล้อมน้อย
และมีตราตรารับรองฯ
80