Page 97 -
P. 97

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                                  …………………………………………………………………….(2)





               โดยที่        MWTP  คือ   มูลค่าความเต็มใจจ่ายที่มีต่ออรรถประโยชน์ที่จะได้รับจากคุณลักษณะที่  k
                                   k

                 k     คือ   ค่าสัมประสิทธิ์ของคุณลักษณะที่  k



                      คือ   ค่าสัมประสิทธิ์ของราคา หรืออรรถประโยชน์ส่วนเพิ่มของเงิน


                       นอกจากนี้ยังสามารถใช้ฟังก์ชันอรรถประโยชน์ทางอ้อม (Vi) จากสมการที่ 2 มาวิเคราะห์หาส่วนเกินการ

               ชดเชย (Compensating  Variation:  CV)  ได้ โดยส่วนเกินการชดเชย (Compensating  Variation:  CV)  คือ
               จ านวนเงินที่เกษตรกรผู้ปลูกพืชผักยินดีจ่าย เพื่อให้เกษตรกรผู้ปลูกพืชผักได้รับความพึงพอใจเท่าเดิม เมื่อ

               คุณลักษณะของการจัดการศัตรูพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ซึ่งก็คือระดับ

               อรรถประโยชน์ที่เปลี่ยนแปลงไป ( V) และจากสมการอรรถประโยชน์ทางอ้อม (Vi) สามารถหาอรรถประโยชน์ส่วน
               เพิ่มของเงิน (Marginal  Utility  of  Money)  ได้ โดยการหาค่าอนุพันธ์บางส่วนของสมการที่ 1 เทียบกับปัจจัย

               ค่าใช้จ่ายในการผลิตที่เพิ่มขึ้น ซึ่งก็คือ ดังนั้นในการหาค่าส่วนเกินการชดเชย (Compensating  Variation:  CV)
               สามารถหาค่าได้ดังสมการที่ 3 (Hanemann, 1984)



                                                   V           (V  V  0 )
                                                                   1
                                     CV     =    -         =   -   i   i  ……………………………………………………...(3)
                                                                   

               โดยที่        CV      คือ   ส่วนเกินการชดเชย

                V            คือ    อรรถประโยชน์ของคุณลักษณะต่างๆ หลังการเปลี่ยนแปลง
                 1
                 i
                V            คือ    อรรถประโยชน์ของคุณลักษณะต่างๆ ก่อนการเปลี่ยนแปลง
                 0
                 i
                            คือ   ค่าสัมประสิทธิ์ของราคา

               7.3 การประเมินความพึงพอใจต่อทางเลือกในการจัดการศัตรูพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย


                       การประเมินความพึงพอใจต่อทางเลือกในการจัดการศัตรูพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของกลุ่มตัวอย่าง
               เกษตรกรผู้ปลูกพืชผักในจังหวัดปทุมธานี นครปฐม และราชบุรี จ านวน 303  ตัวอย่าง โดยการวิเคราะห์ฟังก์ชัน

               อรรถประโยชน์ทางอ้อมของกลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ตัวแปรส่วนใหญ่มีนัยส าคัญทาง
               สถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 (สมการที่ 4) ยกเว้นคุณลักษณะค่าใช้จ่ายในการผลิตที่เพิ่มขึ้นมีนัยส าคัญทาง

               สถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95  ส่วนคุณลักษณะผลผลิตที่ได้จากการจัดการศัตรูพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม




                                                             82
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102