Page 57 -
P. 57

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       2.3.2 สมาชิกในครัวเรือน จ านวนปีที่เป็นสมาชิกองค์กร

                       จ านวนสมาชิกในครัวเรือนของสมาชิกองค์กรชุมชน โดยเฉลี่ยมีตั้งแต่  3-5 คน น้อยที่สุดในสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้ง

               ลุ่มน ้าท่าทอง จ ากัด และมากที่สุดใน สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน ้าสามร้อยยอด-ปราณบุรี จ ากัด นอกนั้นมีสมาชิกโดยเฉลี่ย
               4 คน/ครัวเรือน ขนาดครอบครัวไม่ใหญ่นัก ในจ านวนนี้มีสมาชิกที่ท างานเพาะเลี้ยงสัตว์น ้าโดยเฉลี่ยครัวเรือนละ 1-2
               คน ที่มีสมาชิกท างานเพาะเลี้ยงสัตว์น ้าคนเดียว ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์น ้าต าบลท่าซุง สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่ม
               น ้าท่าทอง จ ากัด และสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน ้าจันทบุรี จ ากัด นอกนั้นมีสมาชิกในครัวเรือนที่ท างานเพาะเลี้ยงสัตว์น ้า 2

               คน  โดยเฉลี่ย มีสมาชิกในครัวเรือนที่ประกอบอาชีพอื่นๆนอกจากเพาะเลี้ยงสัตว์น ้าด้วย เช่น ท าการค้า รับราชการ
               รับจ้าง และเพาะปลูก

                       สมาชิกองค์กรชุมชนมีประสบการณ์เพาะเลี้ยงสัตว์น ้ามายาวนาน ที่มีประสบการณ์มานานที่สุดเป็นเวลา 20 ปี
               คือสมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน ้าจันทบุรี จ ากัด เนื่องจากพื้นที่นี้เป็นพื้นที่แรกที่การเลี้ยงกุ้งขยายมาจากบริเวณชายฝั่ง

               อ่าวไทยตอนใน รองลงไปคือสมาชิกกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์น ้าต าบลท่าซุง เลี้ยงสัตว์น ้าในพื้นที่นี้มาแล้ว 19  ปี
               ตามมาด้วยสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน ้าท่าทอง จ ากัด และ สมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน ้าปากพนัง เลี้ยงสัตว์น ้าในพื้นที่นี้
               มาแล้ว 18 ปี โดยเฉลี่ย สมาชิกสหกรณ์ประมงพาน จ ากัด เลี้ยงปลานิลในพื้นที่มาแล้ว 14 ปี และสมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยง
               กุ้งลุ่มน ้าสามร้อยยอด-ปราณบุรี จ ากัด เลี้ยงกุ้งในพื้นที่นี้มาแล้ว 12 ปี


                       ที่มีประสบการณ์เลี้ยงสัตว์น ้ามา  10  ปีหรือน้อยกว่า คือ สมาชิกกลุ่มเกษตรกรเครือข่ายผู้เลี้ยงปลากะพง
               จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยเฉลี่ยเลี้ยงปลากะพงมาแล้ว 10 ปี และสมาชิกสหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงและแปรรูปสัตว์น ้านครนายก
               จ ากัด ที่เลี้ยงสัตว์น ้าในพื้นที่นี้มาแล้ว 9 ปีโดยเฉลี่ย

                       ส าหรับจ านวนปีที่เป็นสมาชิกองค์กร สมาชิกสหกรณ์ประมงพาน จ ากัด เป็นสมาชิกมายาวนานกว่าสมาชิก

               องค์กรอื่นๆ คือเป็นสมาชิกสหกรณ์ฯมาแล้ว 11  ปี โดยเฉลี่ย เนื่องจากเป็นสหกรณ์ที่ตั้งขึ้นก่อนสหกรณ์อื่นๆ และ
               เกษตรกรในพื้นที่ให้ความเชื่อถือในตัวผู้ก่อตั้ง เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่แรกๆ สมาชิกสหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงและแปรรูปสัตว์
               น ้านครนายก จ ากัด ส่วนใหญ่เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่เริ่มตั้งสหกรณ์ในปี 2556 เป็นสมาชิกมาแล้ว 2 ปี

                       สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งที่ศึกษาจดทะเบียนในช่วงปี 2549–2550  สมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน ้าจันทบุรี จ ากัด

               มักจะเป็นสมาชิกมาตั้งแต่เริ่มจัดตั้งในปี 2549 โดยเฉลี่ยเป็นสมาชิกมาแล้ว 8 ปี ในช่วงที่ด าเนินการมามีสมาชิกเข้ามา
               เพิ่มน้อยมาก ต่างจากสมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งอีกสามแห่ง ที่เป็นสมาชิกมาแล้ว 4-6 ปี โดยเฉลี่ย โดยมีสมาชิกเข้ามา
               เพิ่มเติมหลังจากจดทะเบียนแล้ว

                       เช่นเดียวกับสมาชิกกลุ่มเกษตรกรที่จ านวนปีที่เป็นสมาชิกน้อยกว่าจ านวนปีที่เลี้ยงสัตว์น ้ามา กลุ่มเกษตรกร

               เครือข่ายผู้เลี้ยงปลากะพง จังหวัดฉะเชิงเทรา จัดตั้งกลุ่มในปี 2552 จ านวนปีที่สมาชิกเข้ามาเป็นสมาชิกกลุ่ม เฉลี่ย 5 ปี
               และ กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์น ้าต าบลท่าซุงจดทะเบียนเมื่อปี 2551 จ านวนปีที่สมาชิกเข้ามาเป็นสมาชิกกลุ่ม เฉลี่ย 3
               ปี มีสมาชิกเข้ามาเพิ่มเติมระหว่างที่ด าเนินงาน

                       กล่าวได้ว่าองค์กรชุมชนที่ด าเนินงานได้ผล สามารถจูงใจให้ผู้เลี้ยงสัตว์น ้าเข้ามาเป็นสมาชิกเพิ่มขึ้น


                       2.3.3 สภาวะเศรษฐกิจของครัวเรือนสมาชิก

                       ส าหรับสภาวะเศรษฐกิจของครัวเรือนสมาชิกองค์กร ครัวเรือนสมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน ้าท่าทอง จ ากัด มี
               รายได้สูงที่สุด เฉลี่ย 9.240 ล้านบาท/ครัวเรือน/ปี เป็นรายได้ที่ยังไม่หักค่าใช้จ่ายทั้งค่าใช้จ่ายในการประกอบอาชีพ และ

               รายจ่ายครัวเรือน เนื่องจากสมาชิกสหกรณ์มักจะเป็นผู้เลี้ยงกุ้งรายใหญ่ มีเนื้อที่เลี้ยงกุ้งเฉลี่ย 95 ไร่/ราย ทั้งส่วนหนึ่งยัง


                                                           2-11
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62