Page 76 -
P. 76

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี














                     เป้าหมายของการจัดการศึกษาตามที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัติการจัดการ
               ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ คือการสร้างเด็กที่ดี เก่ง และมีสุข

                     ความสุขที่ยั่งยืนคือความสุขที่เกิดจากการให้ ในฐานะที่เป็นผู้บริหารโรงเรียน                        “บูรณาการปราสาทศีขรภูมิลงสู่หลักสูตร

               ผอ.แสน แหวนวงศ์ จึงคิดอยู่เสมอว่าอยากจะให้ในสิ่งที่จะเกิดผลดีกับชีวิตของนักเรียน                          การเรียนการสอนในทุกกลุ่มสาระ”
               เมื่อได้ฟังคุณครูเอ่ยชักชวนว่า “ผู้อำนวยการต้องนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

               มาขับเคลื่อนในโรงเรียนนะ” ผมดีใจที่สุด เพราะผมเองผ่านประสบการณ์ในการทำ
               โรงเรียนมามากมาย การทำโรงเรียนเป็นการลงทุนที่มหาศาล แต่เราจะทำอย่างไร
               ที่จะทำให้เกิดความยั่งยืน จะมีอะไรมาเป็นภูมิคุ้มกันที่ดี ดังนั้น พอได้หลักปรัชญา

               ของเศรษฐกิจพอเพียงมา ก็คือ “นี่แหละ..ใช่เลย”                                                           ม.๒  เศรษฐกิจพอเพียง หลีกเลี่ยงความจน เป็นการนำหลักคิดปรัชญาของ
                                                                                                                            เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการพัฒนาชีวิต เพื่อพัฒนาตนเองและชุมชน
                     หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ผอ.แสนได้น้อมนำเอามา
               เป็นหลักในการประพฤติปฏิบัติคือ  ไม่ว่าจะทำอะไรก็ตาม  ต้องเข้าใจ  ต้องเข้าถึง                           ม.๓  เริ่มเข้าไปสู่ชุมชน และพัฒนาชุมชนด้วยหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียง
                                                                                                                      ม.๔  นำเรื่องปราสาทศีขรภูมิมาเป็นหลักสูตรบูรณาการ มาสร้างสำนึกรัก
               ต้องพัฒนาต่อยอด ขยายผลได้
                                                                                                                            บ้านเกิดของตัวเอง
                     หากนำหลักนี้มาคิดไตร่ตรองแล้วก็จะพบว่า การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ                                ม.๕  นำเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไปเทียบเคียงกับการพัฒนาประเทศ
               พอเพียงมาใช้ในสถานศึกษาไม่ได้เป็นการเพิ่มภาระอะไรเลย หากทำด้วยความเข้าใจ                               ม.๖  นำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปเรียนรู้เรื่องในยุคโลกาภิวัตน์ นั่นก็คือการ

               และเข้าถึง  เพราะสามารถนำเข้าไปอยู่ในบทเรียนด้วยการสอดแทรกปรัชญาของ                                          รองรับความเปลี่ยนแปลงได้ทุกเรื่อง ไม่ว่าจะมีปัญหาอะไรเกิดขึ้นก็ตาม
               เศรษฐกิจพอเพียงเข้าไปได้ในทุกหน่วยวิชาอย่างกลมกลืน เพราะหลักสูตรการศึกษา                               หลักคิด หลักปฏิบัติ และหลักสูตรที่กล่าวถึงนี้ จะกลายมาเป็นเส้นทางที่ช่วย
      ร้อยเรียงเรื่องเล่า   จึงใช้นโยบายที่เน้นการร่วมกันคิด ร่วมกันทำ ร่วมกันพัฒนาหลักสูตร ด้วยการนำหลัก       สร้างให้ทั้งบุคลากรและผู้เรียนเกิดความเข้าใจและเข้าถึงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
               ขั้นพื้นฐานปี พ.ศ. ๒๕๔๔ นั้น มีวิธีการเรียนรู้หลักคือการบูรณาการ ดังนั้น โรงเรียน

                                                                                                                พอเพียง พร้อมทั้งมีวิถีการพัฒนาตนเองในวิถีชีวิตพอเพียง สอดคล้องกับเจตนารมณ์
               เศรษฐกิจพอเพียงเข้าไปในหน่วยวิชาต่างๆ โดยครูเจ้าของหน่วยวิชาเอง และสามารถ
                                                                                                                ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ที่ต้องการสร้างให้เยาวชนไทยเป็นบุคคลที่มี
               ใช้ได้กับทุกระดับชั้น
                                                                                                                ทักษะในการใช้ชีวิต และมีความมั่นใจในตนเอง ก็คือดี เป็นบุคคลแห่งการคิดพิเคราะห์ได้
                     ม.๑  นำภูมิปัญญาไทยผสานกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง  “ว่าวลอยลม                                  ก็คือเก่ง สอดคล้องกับสุดท้ายก็คือ มีความเป็นไทย คือมีความสุขที่ได้รู้จักตนเอง และ
                           โคมลอยฟ้า” ให้ได้เรียนบูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้                                 ได้ร่วมกันสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมของการให้ เป็นสังคมแห่งความสุข



                                                                                                                                     ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 63ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 63ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 63

               62
               62
               62 เรื่องเล่าจากผู้บริหารพอเพียงเรื่องเล่าจากผู้บริหารพอเพียงเรื่องเล่าจากผู้บริหารพอเพียง
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81