Page 191 -
P. 191

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                               รายงานฉบับสมบูรณ์   กันยายน
                                     โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                                                ๒๕๕๗
                       ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา


                    7.2.2  ลักษณะทางธรณีวิทยา


                         จังหวัดกระบี่ประกอบด้วยหินตะกอนยุคควอเทอร์นำรีเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นยุคที่ 2 ของมหำยุค
               ซีโนโซอิค มีช่วงอำยุประมำณ 1.8 ล้ำนปีถึงปัจจุบัน ส่วนหินแข็งส่วนมำกพบตำมพื้นที่ภูเขำ พื้นที่เนินเขำ หินที่สะสม

               ตัวมีอำยุแก่ที่สุดในยุคคำร์บอนิเฟอรัส ลักษณะทำงธรณีวิทยำที่โดดเด่น และสวยงำมในรูปภูมิประเทศแบบคำสต์มีอำยุ
               ในยุคเพอร์เมียน ลักษณะของหินของบริเวณเขำขนำบน้ ำในจังหวัดกระบี่สำมำรถอธิบำยตำมลักษณะหินได้ดังนี้

               (ภำพที่ 7- 14) เขำสองลูกเป็นหินปูน ยุคเพอร์เมียน กลุ่มหินรำชบุรี (Pr)  ประกอบด้วย หินปูน หินปูนเนื้อโดโลไมต์
               มีหินเชิร์ตแทรกเป็นก้อนและเป็นชั้นหินโดโลไมต์มีซำกฟูซูลินิด หอยแบรคคิโอพอด ปะกำรัง และไบโอซัว หินกลุ่ม
               รำชบุรี เป็นชื่อที่ใช้เรียกหินยุคเพอร์เมียน (อำยุประมำณ 286-245 ล้ำนปี) ที่แพร่กระจำยอยู่ตั้งแต่อ ำเภอสังขละบุรี

               จังหวัดกำญจนบุรีลงมำจนถึงจังหวัดยะลำ ส่วนมำกมีลักษณะเป็นเขำโดด กลุ่มหินรำชบุรีโดยส่วนใหญ่แล้วเป็นหินปูน
               แสดงลักษณะภูมิประเทศแบบคำสต์ ลักษณะของหินปูนและคุณสมบัติของหินปูน ประกอบด้วย หินปูน หินปูนเนื้อ

               โดโลไมต์ และหินโดโลไมต์ แทรกสลับด้วยหินทรำยและหินดินดำน หินปูน หินปูนเนื้อโดโลไมต์ และหินโดโลไมต์
               มีสีเทำถึงสีเทำเข้ม ไม่แสดงลักษณะเป็นชั้น มีหินเชิร์ตเป็นกะเปำะ พบซำกดึกด ำบรรพ์ จ ำพวกฟิวซูลินิด แบรคิโอพอด

               ปะกำรัง แอมโมนอยด์ และไครนอยด์ โดยรอบๆ เขำขนำบน้ ำในส่วนที่มีชำยฝั่งและป่ำชำยเลนเป็นตะกอนร่วน
               ที่ยังไม่แข็งตัวในยุคควอเทอร์นำรี คือ ตะกอนชำยฝั่งทะเลโดยอิทธิพลของน้ ำขึ้นน้ ำลง ดินเหนียว ทรำยแป้ง

               และทรำยละเอียดของที่รำบลุ่ม ที่ลุ่มชื้นแฉะ ที่ลุ่มน้ ำขัง ป่ำชำยเลน และชะวำกทะเล (กรมทรัพยำกรธรณี, 2555)


                    7.2.3     าและ  ณภาพ   า


                         เขำขนำบน้ ำได้รับอิทธิพลทั้งน้ ำจืดจำกคลองกระบี่ ซึ่งมีต้นน้ ำอยู่บริเวณเขำพนมเบญจำและน้ ำทะเล

               บริเวณเขำขนำบน้ ำยังเป็นบริเวณปลำยน้ ำ ซึ่งน้ ำได้ไหลผ่ำนกำรใช้ที่ดินต่ำงๆ โดยเฉพำะชุมชนเมืองก่อนที่จะมำถึง
               เขำขนำบน้ ำ ดังนั้น ผลกระทบของคุณภำพน้ ำบริเวณเขำขนำบน้ ำจึงไม่ใช่มำจำกกิจกรรมบริเวณเขำขนำบน้ ำ

               เพียงประกำรเดียว แต่อำจกล่ำวได้ว่ำผลกระทบได้สะสมมำตั้งแต่บริเวณต้นน้ ำเลยทีเดียว กำรศึกษำนี้จึงมี

               วัตถุประสงค์ เพื่อตรวจวัดคุณภำพน้ ำของจุดต่ำงๆ บริเวณเขำขนำบน้ ำ อ ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ และเพื่อ

               เปรียบเทียบผลที่ได้กับมำตรฐำนคุณภำพในแหล่งน้ ำผิวดิน ประเภทที่ 2 ของกรมควบคุมมลพิษ ว่ำมีค่ำใดบ้ำงที่เกณฑ์

               ค่ำมำตรฐำนและควรเฝ้ำระวัง

















                                                           7-18
   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196