Page 186 -
P. 186
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รายงานฉบับสมบูรณ์ กันยายน
โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๒๕๕๗
ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา
18
17
16
15
วาม ร วลม อต 13
14
12
11
10
9
8
มกรำคม กุมภำพันธ์ มีนำคม เมษำยน พฤษภำคม มิถุนำยน กรก ำคม สิงหำคม กันยำยน ตุลำคม พฤศจิกำยน ธันวำคม
ภาพที่ 7-12 ควำมเร็วลมรำยเดือนเฉลี่ย บริเวณอ ำเภอเกำะลันตำ จังหวัดกระบี่ ระหว่ำงปี พ.ศ. 2525 – 2556
2 การ ลี่ย แ ลง ภาพภูมิอากาศ
กำรวิเครำะห์แนวโน้มกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศบริเวณแหล่งธรรมชำติเขำขนำบน้ ำ
ได้ผลดังแสดงภำพที่ 7-13 ซึ่งเป็นตัวอย่ำงของกรำฟแสดงเส้นแนวโน้มของข้อมูลรำยปี และผลกำรวิเครำะห์
กำรถดถอยของข้อมูลรำยปีและรำยเดือน ดังแสดงในตำรำงที่ 7-3 ถึง 7-6 พบว่ำ
ริมาณฝ
ปริมำณฝนรำยปีไม่มีแนวโน้มกำรเปลี่ยนแปลงที่มีนัยส ำคัญทำงสถิติ ในขณะที่เมื่อพิจำรณำ
ปริมำณฝนรำยเดือนจำกข้อมูลปีต่อปีกลับพบว่ำ ปริมำณน้ ำฝนเดือนพฤษภำคมมีแนวโน้มลดลงประมำณ 6
มิลลิเมตร/ปี แต่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นประมำณ 4 มิลลิเมตร/ปี ในเดือนมิถุนำยน ที่ระดับนัยส ำคัญทำงสถิติที่ 0.01 และ
0.05 ตำมล ำดับ อย่ำงไรก็ตำมเมื่อลดควำมผันแปรของข้อมูลด้วยวิธีกำรค่ำเฉลี่ยเคลื่อนที่ที่รอบเวลำ 5 10 และ 15 ปี
พบว่ำ เดือนที่มีปริมำณฝนเพิ่มขึ้นคือเดือนมกรำคม มีนำคม และธันวำคม ส่วนเดือนที่มีปริมำณฝนลดลงคือ
เดือนกันยำยนและพฤศจิกำยน (ตำรำงที่ 7-3)
อ ณ ภูมิ ฉลี่ย
แนวโน้มกำรเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิเฉลี่ยเมื่อพิจำรณำจำกข้อมูลปีต่อปี พบว่ำ อุณหภูมิเฉลี่ย
รำยปีไม่มีแนวโน้มกำรเปลี่ยนแปลง ส่วนรำยเดือนพบว่ำ เดือนที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ ำลงอย่ำงมีนัยส ำคัญทำงสถิติคือ
เดือนมีนำคมและเมษำยน ที่ระดับนัยส ำคัญทำงสถิติที่ 0.05 อย่ำงไรก็ตำมอุณหภูมิที่ลดลงมีค่ำน้อยมำก มีค่ำประมำณ
0.02 องศำเซลเซียส และมีค่ำเพิ่มขึ้นในเดือนธันวำคม ที่ระดับนัยส ำคัญทำงสถิติที่ 0.05 ประมำณ 0.02
7-13