Page 5 -
P. 5
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ค�าน�า
การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าของไทยได้พัฒนาขยายตัวอย่างรวดเร็วในช่วงกว่าสองทศวรรษที่ผ่านมา
ด้านหนึ่งเป็นผลจากการลดลงของผลผลิตสัตว์น�้าที่จับได้จากแหล่งน�้าตามธรรมชาติ และอีกด้านหนึ่ง
เป็นผลจากการขยายตัวของความต้องการสินค้าสัตว์น�้าทั้งในส่วนของตลาดการค้าภายในประเทศ
และตลาดการค้าระหว่างประเทศ ท�าให้เกิดการพัฒนาการวิธีการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าหลากหลาย
ชนิดเพื่อเป็นสินค้าทดแทนสินค้าสัตว์น�้าที่จับได้แหล่งธรรมชาติ
อีกทั้ง การที่ภูมิภาคอาเซียนได้ก้าวสู่การเปิดเสรีทาง การค้าและการลงทุนเพื่อหลอมรวม
ให้เป็นฐานการผลิตและการตลาดอันเดียวกันภายใต้การรวมเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะ
ส่งผลกระทบต่อการผลิตและการค้าสินค้าสัตว์น�้าของไทยในทิศทางใด ซึ่งข้อความรู้ดังกล่าวมี
จ�ากัดและกระจัดกระจาย เอกสารเล่มนี้เป็นการสังเคราะห์เนื้อหาจากรายงานเรื่อง “โครงการการ
เสริมสร้างความสามารถของเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น�้าไทยเพื่อก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคม
อาเซียน: สถานภาพและการมองไปข้างหน้า” ซึ่งมี รองศาสตราจารย์ ดร.เรืองไร โตกฤษณะ
เป็นหัวหน้าโครงการและได้รับทุนอุดหนุนวิจัยจากส�านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ภายใต้สัญญาที่ RDG5520063 ทั้งนี้เพื่อให้เอกสารเล่มนี้เป็นข้อความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์
การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าของไทยและประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
เนื้อหาในเอกสารเล่มนี้แบ่งออกเป็น 7 บท โดยในบทที่ 1 เป็นการเกริ่นน�าประเด็นการเพาะ
เลี้ยงสัตว์น�้าไทยกับการก้าวสู่นโยบายการเปิดเสรี ภาพนโยบายการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าของไทย
ภาพรวมของสัตว์น�้าที่นิยมเพาะเลี้ยงในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ในบทที่ 2 ได้กล่าวถึง
สถานภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าในภาพรวมของอาเซียน และอธิบายถึงรายละเอียดการเพาะเลี้ยง
สัตว์น�้าของทั้ง 10 ประเทศสมาชิก จากนั้น การค้าสินค้าสัตว์น�้าและศักยภาพการส่งออก
จะกล่าวไว้ในบทที่ 3 ส่วนบทที่ 4 - 6 จะเป็นน�าเสนอข้อมูลเชิงลึกของประเทศไทย ด้านการ
เพาะเลี้ยงสัตว์น�้าในน�้ากร่อย ในทะเล และในน�้าจืด บทสุดท้ายจะเป็นการวิเคราะห์โอกาส
ในการพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าของไทย แยกรายละเอียดของสัตว์น�้าในแต่ละชนิด และ
แนวทางการเพิ่มความสามารถของเกษตรกรไทย
ส�านักประสานงานชุดโครงการ “งานวิจัยเชิงนโยบายเกษตรและเสริมสร้างเครือข่ายงาน
วิจัยเชิงนโยบาย” เห็นว่างานวิจัยนี้ ได้น�าเสนอข้อมูลเชิงเศรษฐกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้า ซึ่งเป็นข้อ
ความรู้ อันน�าไปสู่การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตและช่วยเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้แก่
ประเทศในอนาคต ซึ่งส�านักประสานงานฯ ใคร่ขอขอบคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.เรืองไร โตกฤษณะ
และคณะ ที่ได้เป็นผู้จัดท�าสังเคราะห์ข้อความรู้จากรายงานวิจัยขึ้นเป็นเอกสารวิชาการเล่มนี้
มา ณ โอกาสนี้
บรรณาธิการ
พฤศจิกายน 2558
IV >> สถานภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าไทยในบริบทของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน