Page 203 -
P. 203

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-70




                  หนาที่ของสวนราชการหรือองคการของรัฐไมบรรลุวัตถุประสงค ดวยเหตุนี้มาตรา 13 ทวิ แหงพระราชบัญญัติปา
                  สงวนแหงชาติ  พ.ศ.  2507  ที่ใชบังคับอยูในปจจุบันจึงไมไดกําหนดขอจํากัดไววาจะอนุญาตใหเขาใชพื้นที่ในเขต
                  ปาสงวนแหงชาติไดเฉพาะในเขตปาเสื่อมโทรมเทานั้น อยางไรก็ตาม ในกรณีที่รัฐบาลเห็นสมควรกําหนดมาตรการ

                  ที่รัดกุมขึ้นเพื่ออนุรักษสภาพความสมบูรณของปาไม  ก็อาจมีมติคณะรัฐมนตรีใหการอนุญาตใหสวนราชการหรือ
                  องคการของรัฐเขาใชประโยชนในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติตามมาตรา 13 ทวิ แหงพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ
                  พ.ศ. 2507 กระทําไดเฉพาะในพื้นที่ปาเสื่อมโทรมเทานั้น

                         2.4.9  นโยบายการอนุรักษพื้นที่ปาไมและเหตุการณที่สําคัญในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
                  สังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545–2548)
                                แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) ไดกําหนดแผนที่
                  เกี่ยวของกับการอนุรักษพื้นที่ปาไมไวในบทที่ 5 ยุทธศาสตรการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ

                  สิ่งแวดลอม โดยกําหนดเปาหมายไวในขอ 2.1 และ 2.2 ดังนี้
                                        “2.1 ปฏิรูประบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหมี
                  ประสิทธภาพในการกํากับดูแล มีความโปรงใส ตรวจสอบได รวมทั้งใหประชาชนมสวนรวมในการ
                  บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การปองกัน รวมทั้งการเฝาระวังรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมและการ

                  กอมลพิษ
                                        2.2 อนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติควบคูกับการใชประโยชน โดยใหมีพื้นที่
                  ปาอนุรักษไมต่ํากวารอยละ 25  ของพื้นที่ประเทศ ควบคูไปกับการอนุรักษพื้นที่ปาชายเลนใหไดไมต่ํากวา
                  รอยละ 1.25 ลานไร  ตลอดจนลดปญหาการชะลางพังทลายของดินไมนอยกวา 5 ลานไร  และฟนฟูปรับปรุง

                  บํารุงดินที่มีปญหาทั้งที่เปนดินเปรี้ยว  ดินเค็ม  และดินขาดอินทรียวัตถุไมนอยกวา 10 ลานไร ในป 2549”

                                ในสวนแนวทางการพัฒนาไดกําหนดไวในขอ 3.2 ดังนี้

                                3.2 อนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติของประเทศใหมีความอุดมสมบูรณ
                  เพื่อความสมดุลของระบบนิเวศและใชประโยชนในการสนับสนุนเศรษฐกิจฐานรากของประเทศอยางยั่งยืน ดังนี้
                                        (1) คุมครองและกําหนดเขตพื้นที่อนุรักษเพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศและ
                  มีการใชประโยชนที่สอดคลองกับสมรรถนะ โดย
                                               (1.1) ตรวจสอบความเหมาะสมของพื้นที่ที่ไดกําหนดเปนพื้นที่ลุมนํ้าชั้น

                  ที่ 1 ใหแลวเสร็จ และประกาศใหพื้นที่ลุมนํ้าชั้นที่ 1 ทั้งหมด เปนเขตอนุรักษหรือพื้นที่คุมครอง จัดทําแนว
                  เขตพื้นที่ปาอนุรักษและปาชายเลนอนุรักษใหเสร็จสมบูรณ รวมทั้งแนวกันชนรอบนอกพื้นที่ปาอนุรักษที่
                  สําคัญ ตลอดจนสรางกลไกและเครือขายในการบริหารจัดการพื้นที่ปาอนุรักษเพื่อลดขอขัดแยงระหวาง

                  ภาครฐั และประชาชน โดยยึดหลักประสิทธิภาพและหลักการมีสวนรวม
                                               (1.2) ใหชุมชนและทองถิ่นมีสวนรวมกับภาครัฐในการฟนฟูและปลูกปา
                  ตลอดจนมีสวนรวมในการบริหารจัดการปาชุมชนอยางมีประสิทธิภาพ
                                               (1.3) ประกาศเขตสงวนรักษาพืชพันธุ เขตอนุรักษพันธุสัตวนํ้า และ

                  กําหนดเขตและมาตรการคุมครองการทําประมงพื้นบานใหชัดเจน
                                               (1.4) กําหนดเขตการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่ที่สมควรอนุรักษเปนพื้นที่
                  เกษตรกรรม ควบคูไปกับการสรางแรงจูงใจผานมาตรการดานสินเชื่อ ภาษี และระบบตลาด เพื่อกระจาย
                  สิทธิการถือครองที่ดินในพื้นที่ที่เหมาะสมตอการเกษตรแตมิไดใชประโยชนท างการเกษตร พรอมทั้งใหมี
   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208