Page 200 -
P. 200

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-67




                  เขตเปนชายเลนจรดฝงทะเลไดถึง 100  เมตร  หากปรากฏวาในทองที่ใดเปนที่อยูอาศัยของราษฎร  ใหนํา
                  ขอเสนอที่ไดทบทวนแลวในขอ 1 มาใชโดยอนุโลม
                                        3.  ทาเทียบเรือประมง  ที่ดําเนินการมากอนวันที่ 23 กรกฎาคม 2534  ใหกรม

                  ปาไมพิจารณาอนุญาตใหใชพื้นที่ในเขตปาชายเลนคราวละไมเกิน 2  ป  แตทั้งนี้รวมกันแลวตองไมเกิน
                  ระยะเวลา 15 ป  นับตั้งแตคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ  โดยหามมิใหขยายพื้นที่ทําการ  พรอมทั้งใหกําหนด
                  มาตรการควบคุมเพื่อปองกันผลกระทบสภาพปาและสิ่งแวดลอมและภายหลังจาก 15  ปแลว  ใหรัฐเปนผู
                  เขาไปดําเนินการตอไป

                                                   4.  สถานที่ราชการในหมูบานในเขตปาชายเลนที่มีอยูกอนวันที่ 23 กรกฎาคม
                  2534  ใหพิจารณาเพิกถอนสภาพปาชายเลน

                         วันที่ 16  มกราคม 2544   คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานความคืบหนาการแกไขปญหาของ

                  สมัชชาคนจน ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณเสนอ สรุปไดดังนี้
                                1.     กรณีปาสงวนแหงชาติปาหลังภู อําเภอโขงเจียม สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ
                  เกษตรกรรม (ส.ป.ก.)ไดสงเจาหนาที่เขาไปเตรียมการสํารวจรังวัดจัดที่ดินใหแกราษฎรแลว (เริ่มดําเนินการ
                  สํารวจรังวัดในปงบประมาณ 2544)ซึ่งชี้แจงประชาสัมพันธแกราษฎรใหเปนที่เขาใจแลว

                                2.  โครงการปากุดชมภูและปาชุมชนทับที่ดินทํากินของราษฎร อําเภอสิรินธร ส.ป.ก.  ได
                  ทําการสํารวจรังวัดและสอบสวนสิทธิที่ดินโครงการนี้ไวตั้งแตป พ.ศ. 2533 แตยังไมไดจัดที่ดินใหแกราษฎร
                  เนื่องจากราษฎรจํานวนมากมีเอกสารสิทธิ์ ตามประมวลกฎหมายที่ดิน (นส.3)  แตไมเต็มแปลง ซึ่งไดชี้แจง
                  ใหราษฎรทราบวาจะดําเนินการออก ส.ป.ก.4-01  ใหเฉพาะที่ดินมือเปลา สวนที่มี นส.3  จะดําเนินการกัน

                  ออก แตราษฎรสวนใหญไมประสงคจะรับ ส.ป.ก. 4-01และ ส.ป.ก. อุบลราชธานีกําหนดแผนจัดที่ดินใหกับ
                  ราษฎรที่ประสงคจะรับ ส.ป.ก. 4-01 ในปงบประมาณ 2544
                                      3.  กลุมปญหาปาไม  ที่ดิน  ไมมีการดําเนินการ  เนื่องจากมติคณะรัฐมนตรีไมเห็นชอบตาม

                  ขอเสนอของคณะกรรมการชวยเหลือประชาชน  แตอยางไรก็ตามกรมปาไมอยูระหวางดําเนินการตามมติ
                  คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 ซึ่งคาดวาจะแกไขปญหาราษฎรไดประมาณ 47,000 ราย 56
                  พื้นที่   และไดกําหนดแนวทางในการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการปาไมใหสอดคลองกับบทบัญญัติของ
                  รัฐธรรมนูญ  คือ  รวบรวมขอมูลความคิดเห็นโดยการจัดการสัมมนา  และสํารวจความคิดเห็นจัดทําราง
                  พระราชบัญญัติโดยใชฐานขอมูลที่รวบรวมได  จัดทําประชาพิจารณ  และปรับปรุงรางพระราชบัญญัติกับ

                  นําเสนอรางพระราชบัญญัติ

                         วันที่ 6 กุมภาพันธ 2544   คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบในหลักการเรื่อง การกําหนดมาตรการ
                  และแนวทางแกไขปญหาการขออนุญาตเขาทําประโยชนในเขตพื้นที่ปาอนุรักษตามที่คณะกรรมการนโยบายปาไม

                  แหงชาติเสนอ
                                1. มาตรการหลัก มี 3 ขอ คือ
                                  1.1 การที่มติคณะรัฐมนตรีออกมาใชบังคับในชวงระยะเวลาที่ตางกัน ทําใหมีความคาบ

                  เกี่ยว หรือไมสอดคลองกันในทางปฏิบัติ เชน มติคณะรัฐมนตรีวาดวยการกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา และมติ
                  คณะรัฐมนตรีเรื่องการขออนุญาตใหเขาทําประโยชนในพื้นที่ปาไม  ดังนั้นควรจะมีการพิจารณาทบทวนมติ
                  คณะรัฐมนตรีดังกลาวในภาพรวม เพื่อใหเกิดความชัดเจนและสอดคลองกันในแนวทางปฏิบัติ
   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205