Page 135 -
P. 135

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       2-2




                  หมดภายในเวลาอันรวดเร็ว  ไดกําไรมากกวารอยละ  100  ทําใหเปนที่เลื่องลือกันในตลาดยุโรปถึงความ
                  งดงามของไมสักชั้นดีจากเมืองไทย    จึงไดมีบริษัทตางๆ ในยุโรปสั่งจองซื้อไมสักจากประเทศไทยเปนจํานวนมาก
                         ใน  พ.ศ.  2426  รัฐบาลไทยไดเริ่มอนุญาตใหชาวยุโรปเขารับสัมปทานทําไมสักในประเทศไทยได

                  และในชวงเวลาเดียวกันคือหลังจาก  พ.ศ.2428  เปนตนมาพมาก็ไดปดปาสัก  ไมใหมีการทําไม  เนื่องจาก
                  สภาพปาสักเสื่อมโทรมลงมาจากการทําไมของบริษัทตางชาติ  ความตองการไมสักในหมูประเทศยุโรปจึงมี
                  มากขึ้น  ทําใหบริษัทตางชาติเริ่มเขามาลงทุนทําไมสักเพิ่มขึ้น  บริษัท  บริดิชบอรเนียว  ไดรับสัมปทานทําไม
                  สักใน พ.ศ.2432 บริษัทบอมเบยเบอรมา (Bombay Burma Trading Corporation,Ltd.) ของอังกฤษ ซึ่ง

                  เปนบริษัทใหญและมีอิทธิพลมากในประเทศพมาเขามาใน  พ.ศ.  2432  ตอจากนั้นก็มีบริษัทสยามฟอเรสต
                  (Siam Forest Company, Ltd.) หรือบริษัทแองโกลไทย จํากัด ในปจจุบัน บริษัทอิสตเอเชียติค (East Asiatic
                  Co.) ของเดนมารก ใน พ.ศ. 2437 บริษัทหลุยสดิเลียวโนเวนส (Louis T.Leonowens Ltd.) ซึ่งแยกมาจาก

                  บริษัท บริดิชบอรเนียวใน พ.ศ. 2439 ตอมามีบริษัทของคนไทย คือ บริษัทล่ําซํา และบริษัทกิมเซงหลี ไดรับ
                  สัมปทานทําไมสักจากปาตางๆ จากเจาเมืองเพิ่มขึ้น การทําไมสักจึงไดขยายออกไปถึงจังหวัดอื่นๆ ที่มีไมสักอยู
                         การไดสัมปทานทําไมสักเพิ่มมากขึ้น  ทําใหเกิดการแกงแยงการทําไมในแตละแปลงสัมปทานมีการ
                  ขัดผลประโยชนระหวางบริษัทตอบริษัทและบริษัทตอเจาเมืองตางๆ  จึงเกิดเรื่องรองทุกขและฟองรองไปยัง
                  รัฐบาลอยูบอยๆ  ใน  พ.ศ.  2438-2439  รัฐบาลจึงไดจางผูเชี่ยวชาญปาไมชาวอังกฤษ  ซึ่งมาสํารวจและ

                  วางโครงการการจัดการปาไมในประเทศพมาใหแกรัฐบาลอังกฤษ ชื่อ มร.เอช สะเลด (H.Slade) มาสํารวจ
                  การทําไมและปญหาตางๆ ในการใหสัมปทานทําไมแกบริษัทตางๆ ในภาคเหนือของประเทศ
                         ในเวลาตอมา  มร.เอช  สะเลด  รายงานกราบทูลพระเจานองยาเธอ  กรมหมื่นดํารงราชานุภาพ

                  เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยซึ่งกรมปาไม (มปป: 1-7) ไดจัดพิมพเผยแพรไว ดังที่นํามาแสดงในกรอบที่ 1
                  สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ เสนาบดี กระทรวงมหาดไทย ไดทรงเห็นดวยและสนับสนุนขอเสนอแนะ
                  ของ  มร.สเลด  และไดทรงนํารายงานดังกลาวขึ้นกราบบังคมทูล  พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
                  (รัชกาลที่  5)  เพื่อทรงพิจารณา  เมื่อวันที่  6  กันยายน  2439  (รัตนโกสินทรศก  115)  พระองคไดมีพระ

                  ราชหัตถเลขาตอบกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2439 ที่ไดอัญเชิญมา แสดงไวในกรอบที่ 2
                         รัฐบาลจึงไดสถาปนากรมปาไมขึ้น มีสํานักงานอยูที่จังหวัดเชียงใหม โดยยึดถือ วันที่ 18 กันยายน
                  2539  เปนวันสถาปนา  ในชั้นแรกกรมปาไมขึ้นกับกระทรวงมหาดไทย  มร.เอช  สะเลด  เปนเจากรมหรือ
                  อธิบดีกรมปาไม คนแรกของประเทศไทย มีวัตถุประสงคที่จะคุมครองปาไม บํารุงสงเสริมความอุดมสมบูรณ

                  ของปาและจัดวางโครงการจัดการปาไมตามหลักวิชาการที่ถูกตองใน  พ.ศ.  2440-2443  รัฐบาลได
                  ดําเนินการเจรจา  และไดรับโอนกรรมสิทธิ์พื้นที่ปาและการอนุญาตใหสัมปทานทําไมจากเจาเมืองตางๆ  ให
                  มาเปนสมบัติของแผนดิน เพื่อที่รัฐบาลจะไดดําเนินกิจการปาไมสักเอง รัฐบาลไดยินยอมจายเงินสวนแบงคา
                  ตอไมกึ่งหนึ่งของที่เก็บไดทุกปใหแกเจานายฝายเหนือที่เคยไดรับอยู   จากนั้นรัฐบาลไดประกาศใช

                  พระราชบัญญัติและกฎหมายปาไมตางๆ  เกี่ยวกับระเบียบการทําไม  การปองกันรักษาปาไม  การตั้งคาภาษี
                  เปนตนไดมีการปรับปรุงแกไขสัญญาอนุญาตทําปาไมสักกับบริษัทตางๆ  ใหรัดกุมเพื่อใหไดประโยชนสูงสุด
                  และถูกตองตามหลักวิชาการมากยิ่งขึ้น ทั้งใหทําสัญญาอนุญาตทําไมสัญญาละ 6-12 ป ตอมาไดขยายเวลา
                  สัญญาออกเปนสัญญาละ 15 ป ตามหลักการจัดการปาสัก โดยวางโครงการตัดฟน 30 ป เริ่มตนใน พ.ศ.

                  2451  ตอมาใน  พ.ศ.  2453  ไดยายที่ทําการกรมปาไมจากจังหวัดเชียงใหมมาอยูที่กรุงเทพฯ  และไดยาย
                  สังกัดจากกระทรวงมหาดไทยไปขึ้นกับกระทรวงเกษตราธิการ หรือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ เมื่อ พ.ศ. 2464
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140