Page 84 -
P. 84
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พ.ศ. 2494 พ.ศ. 2495 พ.ศ. 2495 พ.ศ. 2495
ก่อตั้ง KU Band อย่างไม่เป็นทางการ ยกฐานะเป็น กำาหนดเครื่องแบบนิสิตหญิงครั้งแรก ปีแรกของประเพณี “ชาวเรือ - ชาวไร่”
กรมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประเพณีชาวเรือ�-�ชาวไร่
งานประเพณี�“ชาวเรือ�-�ชาวไร่”�เกิดขึ้นครั้งแรกในปี�พ.ศ.�2495�
เมื่อครั้งที่ฝ่าย�“ชาวไร่”�คือเสรี�ไตรรัตน์�ได้นำาทีมรักบี้ของมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ไปเยือนถิ่นรักบี้�“ชาวเรือ”�นำาโดยนาวาโท�ลัทธิ�ตมิศานนท์�
ที่โรงเรียนนายเรือโดยความเห็นชอบของพลเรือเอก� สวัสดิ์� ภูติอนันต์�
(ขณะนั้นยังยศนาวาเอก)� ผู้บัญชาการโรงเรียนนายเรือ� ปากนำ้า
การฝึกซ้อมรักบี้คราวนั้นมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักรักบี้ทั้งสองสถาบัน
มีความเป็นเพื่อนกันทั้งในและนอกสนามแข่ง�และมีสัมพันธ์อันดีต่อกัน
77
เหตุการณ์ครั้งนั้นเริ่มต้นหลังจากร่วมฝึกซ้อมกันเสร็จ�ผู้บัญชาการ
โรงเรียนนายเรือได้ออกประกาศมาตรการ� “เคอร์ฟิว”� โดยห้ามมิให้
อาจารย์� นิสิต� และนักกีฬาของเกษตรศาสตร์กลับบ้านแม้แต่คนเดียว�
หากยามเฝ้าประตูปล่อยให้ใครกลับบ้านจะต้องถูกสั่งขังทันที� จากนั้น�
“ชาวเรือ”� ก็ต้อน� “ชาวไร่”� ไปโรงอาหาร� เลี้ยงอาหาร� เครื่องดื่ม� และ
บรรเลงดนตรีจน� “ชาวไร่”� เกือบทุกคนแทบต้องหมอบคลานกลับบ้าน�
อันเนื่องมาจากการถูก�“เลี้ยง”�พอเมื่อถึงคราที่�“ชาวเรือ”�ไปเยือนถิ่น 72�ปี�เกษตรศาสตร์�พิพัฒน์แผ่นดินไทย��������ทศวรรษที่�1
เกษตรศาสตร์�“ชาวไร่”�ได้ใช้มาตรการเดียวกัน�“จัดหนัก”�ทั้งอาหารและ
เหล้าไวน์ให้�“ชาวเรือ”�จนหลายคนต้องนอนค้างในเกษตรฯ�เพราะกลับไม่ไหว
นับจากนั้นประเพณีผลัดกันเลี้ยงไปมา� จึงกลายเป็นประเพณีนิยม�
(ว่ากันว่ามีสาวชาวไร่หลายคนได้คู่เป็นหนุ่มชาวเรือจากงานนี้ไปก็มาก)�
จนกระทั่งไปแข่งขันรักบี้กันที่สนามศุภชลาศัย� สามารถจัดเก็บเงิน
ทูลเกล้าฯ�ถวายโดยเสด็จพระราชกุศลในปี�พ.ศ.�2508�และ�2511�และ
กลายเป็นประเพณีที่สืบเนื่องต่อมา
หลังจากนั้นสถานการณ์บ้านเมืองไม่เหมาะสม� จึงส่งผลให้การ
จัดงานชะงักไป�กระทั่งในปี�พ.ศ.�2515�พลเรือตรี�ประพัฒน์�จันทวิรัช�
ได้ริเริ่มการจัดงานขึ้นมาอีก� และต่อมาในปี� พ.ศ.� 2520� ได้มาจัดที่
โรงเรียนนายเรือ� ซึ่งในปีนั้น� สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ� เจ้าฟ้าจุฬาภรณ-
วลัยลักษณ์�อัครราชกุมารี�ทรงเป็นนิสิตเกษตรฯ�และได้เสด็จมาในงาน
ครั้งนั้นด้วย� หลังจากนั้นได้หยุดจัดไปจนถึงปี� พ.ศ.� 2535� พลเรือโท�
ไพโรจน์� สันติเวชกุล� ผู้บัญชาการโรงเรียนนายเรือในขณะนั้น� ได้ดำ�ริ
งานรักบี้ประเพณี ชาวเรือ - ชาวไร่ ให้มีงานประเพณีขึ้นมาอีก�และได้จัดต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน