Page 81 -
P. 81
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทศวรรษที่ 1
พ.ศ. 2493 พ.ศ. 2493
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯ มาในพิธี จัดโครงการอบรมวิชาชีพสำาหรับประชาชนเป็นครั้งแรก
พระราชทานปริญญาบัตรครั้งแรก โดยสำานักส่งเสริมและฝึกอบรม
ณ ตึกปฏิบัติการเคมี วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ เมื่อครั้งเขียนจดหมายส่วนตัวขอรับการสนับสนุนทางการศึกษาจาก
หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ� จอมพล� ป.� พิบูลสงคราม� นายกรัฐมนตรี� จดหมายฉบับนั้นกลายเป็น
(ทองดี� เรศานนท์)� อดีตอธิการบดี ประวัติศาสตร์ที่ต้องจารึกเมื่อมหาวิทยาลัยได้รับความช่วยเหลืออย่างดี
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์� เกิด จนเกิดการพัฒนาอย่างรุดหน้า
เมื่อวันที่� 10� มีนาคม� พ.ศ.� 2439� หลวงสุวรรณฯ�มีความสนใจด้านการเลี้ยงไก่เป็นพิเศษ�และนำ�เทคโนโลยี
ที่ตำาบลโพธิ์กลาง� อำาเภอเมือง� การเลี้ยงสมัยใหม่เข้ามาใช้� รวมทั้งเผยแพร่ความรู้ด้านการเลี้ยงไก่สู่
จังหวัดนครราชสีมา� ชีวิตวัยเยาว์ สาธารณะ� จนประเทศไทยไม่ต้องนำ�ไก่เข้ามาจากประเทศจีน� และได้รับการ
ได้ตามครอบครัวไปใช้ชีวิตและศึกษา ขนานนามว่า� “บิดาแห่งการเลี้ยงไก่”� ของไทย� และเป็นผู้คิดคำ�ขวัญ� “กินไข่
74 ที่จังหวัดบุรีรัมย์� ต่อมาสอบได้เป็น วันละฟองไม่ต้องหาหมอ”� นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้ประชาชนเลี้ยงปลาจีน
นักเรียนหลวงด้วยคะแนนดีเยี่ยม� และแพะอีกด้วย� หลวงอิงคศรีกสิการ� อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัย
72�ปี�เกษตรศาสตร์�พิพัฒน์แผ่นดินไทย��������ทศวรรษที่�1 หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ บ้านสมเด็จฯ� และศึกษาต่อที่แผนก ก็หาทางทำ�จนสำ�เร็จ�เป็นคนที่ไม่ดีแต่พูด�ทำ�เป็นด้วย...”�จอมพล�ผิน�ชุณหะวัณ�
จึงได้รับคัดเลือกเข้ามาเป็นนักเรียน
เกษตรศาสตร์�และ�1�ใน�3�บูรพาจารย์ด้านการเกษตร�บันทึกถึงหลวงสุวรรณฯ�
หลวงที่โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์
ว่า� “…คุณหลวงสุวรรณวาจกกสิกิจเป็นคนบึกบึน� ขยัน� มุมานะ� จะทำ�อะไร
อธิการบดีมหาวิทยาลัยคนที่ 3
ครุศึกษา� กรมมหาวิทยาลัย�
อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ�เคยบันทึกไว้ว่า�“…ถ้าข้าราชการ
(พ.ศ. 2489 - 2501)
ชั้นอธิบดีของประเทศไทยมีอุปนิสัยเหมือนคุณหลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ
จนสำาเร็จออกมารับราชการครูที่
โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม�ตำ�แหน่งครูผู้ช่วย�ในปี�พ.ศ.�2460�
ทุกๆ�คน�ชาติไทยคงเจริญก้าวหน้าไปโดยเร็วอย่างแน่นอน...”
หลวงสุวรรณฯ�เป็นผู้ร่วมบุกเบิกโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมกับ
หลวงสุวรรณฯ� กราบถวายบังคมลาออกจากราชการเพื่อขอรับ
พระยาเทพศาสตร์สถิตย์�(โห้�กาฬดิษย์)�เมื่อครั้งยังอยู่ที่หอวัง�ด้วยความที่เป็น
พระราชทานบำ�นาญ�เมื่อวันที่�10�มีนาคม�พ.ศ.�2501�และถึงแก่อนิจกรรม
คนวิริยอุตสาหะ�ชอบค้นคว้า�และมีความสามารถ�กระทรวงธรรมการจึงส่ง
เมื่อวันที่�21�พฤศจิกายน�พ.ศ.�2506
~
หลวงสุวรรณฯ�ไปศึกษาต่อที่�University�of�the�Philippines�Los�Banos�
ประเทศฟิลิปปินส์�เป็นเวลา�4�ปีจนสำ�เร็จได้ปริญญาเกียรตินิยม�เมื่อกลับมา
ประเทศไทยได้เข้าสอนที่โรงเรียนฝึกหัดฯ�ที่พระประโทณ�จังหวัดนครปฐม�และ
มีส่วนร่วมบุกเบิกโรงเรียนฝึกหัดฯ�ที่บางสะพานใหญ่�จังหวัดประจวบคีรีขันธ์�
และที่ทับกวาง� จังหวัดสระบุรี� ซึ่งเมื่อพระยาเทพศาสตร์สถิตย์ได้ถึงแก่
อนิจกรรมเมื่อปี�พ.ศ.�2472�หลวงสุวรรณฯ�ได้ดำ�รงตำ�แหน่งอาจารย์ใหญ่
ใบปริญญากสิกรรมและสัตวบาล
โรงเรียนฝึกหัดฯ�ที่ทับกวางต่อจนถึงปี�พ.ศ.�2475�ได้ย้ายไปเป็นหัวหน้าสถานี ดุษฎีบัณฑิต (กิตติมศักดิ์)
ทดลองเกษตรที่ควนเนียง�อำ�เภอรัตภูมิ�จังหวัดสงขลา�และย้ายไปที่คอหงส์� ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มอบให้แก่หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ
อำ �เภอหาดใหญ่�จังหวัดสงขลา�โดยรับตำ�แหน่งอาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดฯ�
ภาคใต้�ร่วมด้วยในเวลาต่อมา
หลวงสุวรรณฯ�เป็นผู้ที่มีความสามารถด้านการเกษตรมากที่สุดคนหนึ่ง
ของไทย�เคยดำ�รงตำ�แหน่งสำ�คัญๆ�ทางราชการมากมาย�อาทิ�อธิบดีกรม
เกษตรและการประมง� กระทรวงเกษตราธิการ� ผู้อำ�นวยการเกษตรฝ่าย
ใบปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต
วิชาการ�กรมเกษตรและการประมง�ผู้เชี่ยวชาญฝ่ายปศุสัตว์และสัตว์พาหนะ� (กิตติมศักดิ์)
อธิบดีกรมปศุสัตว์และสัตว์พาหนะ�และอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์� ที่มหาวิทยาลัย Oregon State
มอบให้แก่หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ
ซึ่งดำ�รงตำ�แหน่งยาวนานถึง�12�ปี�และร่วมพัฒนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
จากผืนดินว่างเปล่า�จนกลายเป็นมหาวิทยาลัยด้านการเกษตรชั้นนำ �
นอกเหนือจากการร่วมผลักดันให้วิทยาลัยเกษตรศาสตร์ยกฐานะขึ้นเป็น
มหาวิทยาลัยแล้ว� บทบาทของหลวงสุวรรณฯ� ที่สำ�คัญอีกครั้งหนึ่งคือ