Page 79 -
P. 79
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทศวรรษที่ 1
พ.ศ. 2491 พ.ศ. 2492
จดหมายขอรับการสนับสนุนจากหลวงสุวรรณฯ รับนักเรียนที่จบจาก
ไปถึงจอมพล ป. พิบูลสงคราม และได้รับการตอบกลับ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาทั่วไปเป็นนิสิตปีที่ 1
สมัยใหม่แก่ประชาชน จนเป็นที่มาของคำาขวัญ “กินไข่วันละฟอง ของหลวงสุวรรณฯ สมัยศึกษาที่ประเทศฟิลิปปินส์) มาให้คำาปรึกษา
ไม่ต้องไปหาหมอ” นับเป็นตัวอย่างที่ชี้ให้เห็นถึงความพยายามส่วนนี้ ด้านการเลี้ยงไก่เป็นเวลา 1 ปีเศษ ระยะนี้ FAO ยังสนับสนุนทุนให้
เป็นอย่างดี อาจารย์ของมหาวิทยาลัยอีกหลายท่านได้ไปดูงานยังต่างประเทศ
ปีเดียวกันนั้นเอง โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาเกษตรศาสตร์ ทั้งทางเกษตรและวนศาสตร์
ที่แม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ได้แปรสภาพเป็นสถานศึกษาอาชีพ สังกัด ในปี พ.ศ. 2494 คณบดี K.A. Ryerson จากคณะ
กรมอาชีวศึกษา ดังนั้นในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เกษตรศาสตร์ University of California, Davis ประเทศสหรัฐอเมริกา
จึงเริ่มรับนิสิตจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาอื่นๆ เข้ามาเป็นนิสิต ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะผู้เชี่ยวชาญสาขาเกษตร มาประเมินรายละเอียด
72
ไม่จำากัดว่าต้องเป็นนักเรียนจากแม่โจ้อีกต่อไป และเตรียมข้อเสนอขององค์การ Muslim Student Association
ยุคนี้นับเป็นยุคทองของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ยุคหนึ่ง (M.S.A.) เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนด้านการเกษตรระดับปริญญา
72�ปี�เกษตรศาสตร์�พิพัฒน์แผ่นดินไทย��������ทศวรรษที่�1 เกษตรกรรมทุกท่าน ทั้งพระช่วงเกษตรศิลปการเป็นรัฐมนตรีว่าการ ทำางานวิจัยในไทยไปอีกระยะหนึ่ง เพื่อร่วมงานกับฝ่ายไทยใน
เมื่อ “สามเสือเกษตร” ต่างดำารงตำาแหน่งสำาคัญๆ ในแวดวง ความร่วมมือนี้ทำาให้มีนักวิจัยของโครงการบางท่านอยู่ร่วม
กระทรวงเกษตราธิการ หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจเป็นอธิการบดี บางโครงการ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และหลวงอิงคศรีกสิการดำารงตำาแหน่ง
องค์การบริหารวิเทศกิจแห่งสหรัฐอเมริกา (United States
อธิบดีกรมการกสิกรรม ทั้ง 3 ท่านจึงมีส่วนอย่างยิ่งต่อการพัฒนา Operations Mission หรือ USOM) ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐบาล
แวดวงเกษตรของไทยรวมถึงด้านการศึกษาการเกษตรด้วย
สหรัฐฯ ที่ให้คำาปรึกษาด้านการพัฒนาแก่ประเทศไทย ได้เป็น
ระยะนี้ความสัมพันธ์ระหว่างหลวงสุวรรณฯ และอาจารย์ ที่ปรึกษาให้กับมหาวิทยาลัยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2495 จนกระทั่งได้รับ
หลายๆ ท่านกับองค์กรเกษตรในต่างประเทศ ดึงดูดให้เกิดความ คำาแนะนำาจากศาสตราจารย์ J.R. Beck จากมหาวิทยาลัย Oregon
ช่วยเหลือด้านการศึกษาจากต่างประเทศเป็นครั้งแรก ในปี พ.ศ. State ให้มหาวิทยาลัยทำาโครงการขอความช่วยเหลือด้านการศึกษา
2492 อาจารย์ Walker คณบดีคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย โดยมีลักษณะเป็น Counterpart Fund คือ สหรัฐฯ ออกเงินเท่าใด
Utah State ประเทศสหรัฐอเมริกา ผู้ทำาหน้าที่เป็นผู้แทนของ Mutual รัฐบาลไทยต้องออกเงินสมทบเท่านั้น ความช่วยเหลือผ่าน USOM นี้
Security Agency ของสหรัฐฯ (หรือองค์กร US Agency for ในปี พ.ศ. 2497 ได้มีการลงนามสัญญา ณ สถานทูตไทยประจำา
International Development หรือ USAID ในเวลาต่อมา) ได้เดินทาง กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เรียกง่ายๆ ว่า สัญญา KU-OSU
มาประเมินสถานภาพทางการเกษตรของไทยรวมทั้งมหาวิทยาลัย สัญญาฉบับนี้ นับเป็นความร่วมมือทางการศึกษาอย่าง
เกษตรศาสตร์ และได้ริเริ่มข้อเสนอความช่วยเหลือด้านการสร้าง เป็นทางการระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กับมหาวิทยาลัย
บุคลากรและจัดส่งคณะผู้เชี่ยวชาญจากสหรัฐฯ มาร่วมงานค้นคว้า Oregon State โดยมีสาระสำาคัญคือการส่งผู้เชี่ยวชาญมาให้
และส่งเสริมด้านการเกษตร คำาปรึกษาเกี่ยวกับการปรับปรุงมหาวิทยาลัย ช่วยด้านการเรียน
ต่อมาในปี พ.ศ. 2493 ไทยเข้าร่วมเป็นสมาชิกของ FAO การสอน ให้ทุนแก่อาจารย์และเจ้าหน้าที่มหาวิทยาลัย สัญญานี้
ลำาดับที่ 50 ช่วงนี้จึงเริ่มมีนักวิชาการเกษตรจากต่างประเทศเข้ามา นับเป็นก้าวสำาคัญของการขยายงานมหาวิทยาลัย โดยได้รับ
ในประเทศไทยจำานวนมาก ปีถัดมา FAO ได้ส่ง Dr. Francisco ความช่วยเหลือจากต่างประเทศ ซึ่งเป็นรากฐานมั่นคงต่อการก้าวสู่
M. Fronda ผู้เชี่ยวชาญด้านการเลี้ยงไก่ (ท่านผู้นี้เป็นเพื่อนร่วมชั้น ทศวรรษที่ 2 ต่อไป