Page 81 -
P. 81

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                             71








                  ท างานที่ความเร็ว 0.34 – 0.85 m/s     จากผลการทดลองพบว่าค่าแรงฉุดลากในแนวระดับ

                  (draft) มีค่าเพิ่มสูงขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของค่าความเร็วการท างาน   จนถึงค่าความเร็ว 0.7 m/s

                  จากนั้นค่าแรงฉุดลากในแนวระดับก็ลดลงตามค่าความเร็วที่เพิ่มขึ้น    ทั้งนี้เป็นไปตามผล
                  การศึกษาในห้องปฏิบัติการดังรูป  3.19

                         ถ้าโหลดกระท าในลักษณะทันทีทันใดกับตัวอย่างดิน  บริเวณใกล้ที่สุดกับแหล่งที่

                  ออกแรงกระท าจะมีผลถูกกระทบเป็นอันดับแรก     และการเปลี่ยนรูปตัวอย่างดิน (soil

                  specimen deformation) เนื่องจากโหลดกระท าจะถูกแพร่กระจายทีละน้อยผ่านตัวอย่างดิน
                  ในลักษณะคลื่นความเค้น    ตามความเร็วการแพร่กระจายของคลื่น (wave propagation

                  velocity)   ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าความเค้นและความเครียดแสดงในรูป 3.20

                  ทั้งนี้ความเร็วคลื่นความเค้นมีค่าสูงสุดที่ต าแหน่ง (  ,  )   และลดลงเรื่อยๆที่ต าแหน่ง (
                                                                                              2
                                                                  1
                                                              1
                  ,  ) และ (  ,  )    การแพร่กระจายความเร็วคลื่นความเค้นในช่วงอีลาสติกจะเร็วกว่า ณ
                                 3
                    2
                             3
                  ต าแหน่งพลาสติก
                         จากการทดสอบการกดตัวอย่างดินโดยใช้เครื่องมือ  triaxial  ซึ่งโหลดกระท าใน
                  ลักษณะความเร็วการให้โหลดช้า  ดังนั้นความเค้นในตัวอย่างดินที่เวลาขณะใดๆ อาจจะถูก
                  สมมุติเท่ากันทุกจุด  อย่างไรก็ตามเมื่อออกแรงกระท าทันทีทันใด (impact loading)  กับ

                  ตัวอย่างดิน  ค่าความเค้นจะไม่ถูกส่งผ่านในทันทีไปยังทุกส่วนของตัวอย่างดินที่ถูกทดสอบ

                  ทั้งนี้ความเค้นจะกระท าที่ต าแหน่งส่วนล่างสุดของตัวอย่างดินที่ถูกทดสอบเป็นอันดับแรก

                  และถูกส่งผ่านไปยังต าแหน่งบนที่อยู่สูงกว่าในลักษณะคลื่นความเค้น  จากรูปแสดงค่าสูงสุด
                  ของความเค้นในแนวแกน  (axial stress)  ได้จากทรานสดิวเซอร์วัดแรงที่ต าแหน่งส่วนล่าง

                  (lower  force  transducer)  ที่ปรากฏค่าความเครียดในแนวแกน  (axial strain)  7.8 %  และ

                  ความเค้นจะถูกส่งผ่านไปยังทรานสดิวเซอร์วัดแรงที่ต าแหน่งส่วนบน   (upper force
                  transducer)  ที่ค่าความเครียด  11.6 %  (รูป 3.21 ก)

                         เพื่อจะจ าแนกชนิดการวิบัติดิน   ค่าแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและ

                  ความเครียดของแรงกดที่ถูกบันทึกค่าจากทรานสดิวเซอร์วัดแรงด้านบน   ลักษณะการไหล

                  แบบพลาสติก  (plastic flow)   จะถูกพิจารณาเกิดขึ้นเมื่อค่าความเค้นมีค่าคงที่ที่ค่าสูงสุด
                  ในขณะการเพิ่มขึ้นของค่าความเครียด (รูป 3.21ข)     และจะเป็นการง่ายถ้าจะเปรียบเทียบ
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86