Page 104 -
P. 104

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                             94








                  กับระนาบ    สังเกตุค่า p จะขึ้นกับต าแหน่งของระนาบ   ดังนั้นใช้แนวความคิดความเค้น

                  สามทิศทาง   โดยสมมุติเป็นรูปลูกบาศก์แทนการพิจารณาขอบเขตแบบระนาบ (รูป 4.11b)

                  ต าแหน่งลูกบาศก์ถูกเลือกให้ขอบของลูกบาศก์ขนานกับแกนของระบบพิกัด  x , y , z   และ

                  เนื่องจากการกระท าของโหลดต่อดินรูปลูกบาศก์    ท าให้เกิดความเค้นกระท าในแต่ละด้าน
                  ของลูกบาศก์    ความเค้นแต่ละด้านแยกเป็นส่วนที่ตั้งฉากและส่วนที่สัมผัสกับด้านต่างๆของ

                  ลูกบาศก์    ส่วนที่สัมผัสจะขนานกับพิกัดแกน   รูป 4.11b แสดงส่วนประกอบด้านหน้า

                  ด้านบน    และด้านขวามือของลูกบาศก์     ส่วนประกอบแต่ละด้านที่เหลือจะไม่แสดงให้

                  เห็น    เพราะมีค่าเท่ากันกับด้านตรงข้าม    อย่างไรก็ตามมีทิศทางตรงข้ามกัน   เพราะการ
                  เปลี่ยนแปลงในแต่ละด้านของลูกบาศก์มีขนาดเล็ก   ไม่ท าให้สถานะความเค้นเปลี่ยนแปลง

                  ไป    และแรงกระท าบนด้านหนึ่งของระนาบจะเท่ากับแรงที่อยู่ตรงข้ามอีกด้าน



















                  รูป 4.11   ความเค้นบนระนาบจินตภาพ (imaginary  plane)  (รูป a)   ความเค้นกระท าต่อ

                           ลูกบาศก์  (รูป b)    และความเค้นหลัก (principal  stresses)  หลังจากหมุนลูกบาศก์

                           (รูป c)
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109