Page 54 -
P. 54
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
36 บรรยากาศ
หยดน ้าฝน
50.5
แสงอาทิตย์ 54
ภาพที่ 2.12 รุ้งกินน ้าทุติยภูมิเกิดการหักเหเข้าและสะท้อนของแสงภายในหยดน ้าสองครั้ง
แล้วหักเหออก
ที่มา : ดัดแปลงจาก Ahrens (1988)
มุมตกกระทบ
มุมหักเห
มุมตกกระทบ
มุมเบี่ยงเบน
มุมสะท้อน
ภาพที่ 2.13 กลไกการเกิดรุ้งกินน ้าขณะที่มีการหักเหของแสงเข้าสู่หยดน ้าและสะท้อนภายใน
หยดน ้าแล้วหักเหออก
แสงทรงกลด (Halo) และแสงท าให้เกิดดวงอาทิตย์ปรากฏ (Sundog)
แสงทรงกลดมีลักษณะเป็นวงแหวนสีขาวบนพื้นสีเทาที่ล้อมรอบดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์
วงแหวนนี้เกิดขึ้นเมื่อแสงจากดวงอาทิตย์ตกกระทบกับผลึกน ้าแข็งแล้วหักเหผ่านผลึกน ้าแข็งสู่
พื้นดิน ปรากฏการณ์นี้มักเกิดขึ้นเมื่อแสงที่ส่องผ่านเมฆเซอร์โรสเตรตัส ซึ่งมีลักษณะเป็นแผ่นบาง
ลอยอยู่ที่อยู่สูงจากพื้นดินประมาณ 10 กิโลเมตร ที่ระดับความสูงนี้ภายในก้อนเมฆมีเฉพาะผลึก