Page 176 -
P. 176

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                 158   กระบวนการควบแน่นและหยาดน ้าฟ้า








               6.4  การตรวจวัดปริมาณน ้าฝน


                     6.4.1  เกณฑ์การตรวจวัดปริมาณน ้าฝน


                             1. ถังวัดน ้าฝนควรอยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางอย่างน้อยต้องเป็นมุมไม่เกิน 45 องศา

                             2. ขนาดของถังวัดน ้าฝนมาตรฐานมีเส้นผ่าศูนย์กลางขนาด  200  มิลลิเมตร

               (8 นิ้ว) ปากกรวยของถังวัดน ้าฝนท ามุมกับด้าน 120 องศา
                             3. ความสูงของปากถังวัดน ้าฝนจากพื้นดินประมาณ 1.0 เมตร


                             4. กระบอกในของเครื่องวัดน ้าฝนแบบธรรมดาควรมีพื้นที่เพียง  1/10  ของขนาด

               พื้นที่ของปากกระบอกนอก จะท าให้อ่านค่าของน ้าฝนได้ถูกต้องแม่นย า โดยการวัดค่าความสูงของ
               น ้าในกระบอกในแล้วหารด้วย 10


                             5. เครื่องมือวัดน ้าฝนแบบบันทึกอัตโนมัติควรเป็นแบบชั่งน ้าหนักมากกว่าแบบ
               อื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นแบบไซฟอน หรือแบบถ้วยกระดก (Tipping Bucket) เนื่องจากให้ความถูกต้องสูง

               กว่าแบบไซฟอนซึ่งต้องเสียเวลาในการไซฟอนน ้าทิ้ง และให้ความถูกต้องสูงกว่าแบบถ้อยกระดก
               ซึ่งมีความผิดพลาดจากน ้าที่ยังคงตกค้างอยู่ในถ้วยกระดกในกรณีที่มีฝนตกหนัก (ภาพที่ 6.10)

                      6.4.2   การเฉลี่ยค่าของปริมาณน ้าฝนที่ตรวจวัดได้จากสถานีตรวจอากาศ



                              1. การเฉลี่ยปริมาณน ้าฝนเชิงเลขคณิต เป็นการหารเฉลี่ยแบบถ่วงน ้าหนักปริมาณ
                                 น ้าฝนที่วัดได้จากสถานีตรวจอากาศ A, B, C และ D  (ภาพที่ 6.12)



                                         สถานีตรวจวัดปริมาณน ้าฝน   A   B    C       D
                                         ปริมาณน ้าฝนรายวัน      40   80     100     60
                                                                 40  80  100   60
                                         ปริมาณน ้าฝนเฉลี่ยเชิงเลขคณิต  =
                                                                        4
                                                               =  70 มิลลิเมตร


                                    ภาพที่  6.12 การเฉลี่ยปริมาณน ้าฝนเชิงเลขคณิต

                                         ที่มา  :  ดัดแปลงจาก Brooks et al. (1991)



                             2. การเฉลี่ยค่าแบบพื้นที่รูปเหลี่ยมไทเซน (Thiessen Polygon) เป็นการเฉลี่ยเชิง

               พื้นที่โดยใช้รูปเหลี่ยมที่ได้จากเส้นตั้งฉาก  ณ  จุดกึ่งกลางของระยะระหว่างสถานีวัดแบบถ้วย
               น ้าหนักน ้าฝนตัดกัน (ภาพที่ 5.24)
   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181