Page 146 -
P. 146
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
128 ความชื้นและเสถียรภาพของอากาศ
0
0
อุณหภูมิของอากาศ ( C) อุณหภูมิของอากาศ ( C)
ความสูง (m)
ความสูง (m)
อัตราการลด อัตราการลด
อุณหภูมิของ อุณหภูมิของ
อากาศ อากาศชื้น
0
0
7 C/1000 m อัตราการลด 6 C/1000 m
อัตราการลด
อุณหภูมิของ
อุณหภูมิของ
อากาศแห้ง อากาศ
10 C/1000 m 7 C/1000 m
0
0
อุณหภูมิของอากาศแห้ง อุณหภูมิของอากาศชื้นที่
0
0
ที่ถูกท าให้ลอยขึ้น ( C) ถูกท าให้ลอยขึ้น ( C)
ภาพที่ 5.11 สภาวะอากาศไม่เสถียรภาพแบบมีเงื่อนไข (conditional instability) ของอากาศที่
เปรียบเทียบกับการลอยขึ้นของกลุ่มอากาศแห้งและกลุ่มอากาศชื้นอิ่มตัวด้วยไอ
น ้า
ที่มา : ดัดแปลงจาก Ahrens (1988)
เกณฑ์การก าหนดเสถียรภาพของอากาศแห้ง พิจารณาได้จากอุณหภูมิศักย์
(potential temperature, T ) เนื่องจากที่อุณหภูมิศักย์เป็นอุณหภูมิของกลุ่มอากาศที่ความดัน 1,000
p
มิลลิบาร์จากอากาศที่มีความดันใดๆ เมื่อลดระดับของกลุ่มอากาศลงมาที่ระดับความดัน 1,000
มิลลิบาร์ กลุ่มอากาศจะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นตามระยะทาง ถ้าอุณหภูมิศักย์สูงกว่าอุณหภูมิของ
อากาศที่ความสูง 1,000 มิลลิบาร์ แสดงว่า กลุ่มอากาศที่มีอุณหภูมิ T นั้น มีศักยภาพที่จะลอยขึ้น
(เพราะอุ่นกว่า) ในทางกลับกัน ถ้าอุณหภูมิของกลุ่มอากาศต ่ากว่าอุณหภูมิของอากาศที่ความสูง
1,000 มิลลิบาร์ อากาศนั้นมีแนวโน้มจมลงหรือมีเสถียรภาพนั่นเอง ดังความสัมพันธ์ในสมการที่
(5.28)
T p k p
=
T , 1 000
p