Page 92 -
P. 92

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                   80


                   โควาเลนซนี้นอยกวาไอออน เนื่องจากอิเล็กตรอนไมไดถายโอนออกไปทั้งหมด สภาพมีขั้วของ

                   โมเลกุลขึ้นกับชนิดและความสามารถดึงประจุลบของอะตอม หรือ Electronegativity ดังตัวอยาง
                   แสดงในตารางที่ 4-1
     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right


                   ตารางที่ 4-1 ความสามารถดึงประจุลบของธาตุที่พบในพอลิเมอรสวนใหญ

                    Atom                           H      C      N      O      F      Si     S      Cl
                    Electronegativity (Paulings)  2.1    2.5    3.0    3.5    4.0    1.8    2.5     3.0

                   ที่มา: Ebewele (2000)



                   ตัวอยางหมูฟงกชันที่มีสภาพมีขั้วไดแก CCl, CF, CO, CN และ OH แรงดึงดูดในพันธะ

                   ที่มีขั้วนี้เรียกวา ไดโพลโมเมนต (Dipole moment) สภาพมีขั้วของโมเลกุลเปนผลรวมของไดโพล

                   โมเมนตของหมูฟงกชันตางๆ ในโมเลกุล และขึ้นกับสมมาตรของหมูฟงกชันดวย เชน น้ํา (H 2O)
                   และคารบอนไดออกไซด (CO 2) มีหมูที่มีขั้วคือ OH และ CO ในขณะที่น้ําเปนโมเลกุลมีขั้วแต

                   คารบอนไดออกไซดไมมีขั้ว เนื่องจากโครงสรางของคารบอนไดออกไซดมีสมมาตรของหมู CO

                   ดังนั้นไดโพลโมเมนตจึงหักลางกัน ในขณะที่โมเลกุลน้ําไมสมมาตรจึงแสดงสภาพมีขั้ว (ดูภาพที่ 4-1)










                                           copy right       copy right    copy right    copy right


                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right


                   ภาพที่ 4-1 ตัวอยางโครงสรางโมเลกุลแบบสมมาตรของคารบอนไดออกไซด (CO 2) และโครงสราง

                   โมเลกุลแบบไมสมมาตรของน้ํา (H 2O)
                   ที่มา: ดัดแปลงจาก http://www.chem.ufl.edu/~itl/2045/lectures/lec_16.html



                   สภาพมีขั้วของพอลิเมอรเปนไปตามสภาพมีขั้วของมอนอเมอร เอทิลีนและโพรพิลีนเปนมอนอเมอร
                   ไมมีขั้ว เนื่องจากองคประกอบเปนคารบอนและไฮโดรเจน ซึ่งมีคาความสามารถดึงประจุลบใกลเคียง

                   กันจึงทําใหไมมีขั้ว ดังนั้น PE และ PP จึงเปนพลาสติกไมมีขั้ว ไวนิลคลอไรดเปนมอนอเมอรที่มีขั้ว

                   เนื่องจากมีหมู CCl และโมเลกุลไมสมมาตรดังนั้น PVC จึงเปนพลาสติกมีขั้ว ในขณะที่มอนอเมอร

                   ไวนิลิดีนคลอไรดไมมีขั้วเพราะเปนโมเลกุลที่มีสมมาตร ทําใหไดโพลโมเมนตของหมู CCl หักลาง





                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97