Page 88 -
P. 88

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
               76

               การเกิดพอลิเมอร์แบบแขวนลอยนิยมใช้นํ้าเป็นเฟสของเหลว ทําให้มีข้อดีหลายประการ คือ

                     ต้นทุนการผลิตตํ่ากว่าการเกิดพอลิเมอร์แบบสารละลายที่ส่วนใหญ่ใช้ตัวทําละลายอินทรีย์

     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                     การถ่ายเทความร้อนผ่านเฟสของเหลวที่เป็นนํ้าและการควบคุมอุณหภูมิในปฏิกรณ์สะดวก
                       ง่ายกว่าการใช้ตัวทําละลายอินทรีย์
                     พอลิเมอร์ที่ได้มีความบริสุทธิ์สูงกว่าวิธีการเกิดพอลิเมอร์แบบสารละลาย เนื่องจากใช้ตัวเร่ง

                       และสารช่วยแขวนลอยปริมาณตํ่ามาก ประมาณร้อยละ 0.1-0.5 และ 0.01-0.50 ของนํ้าหนัก
                       มอนอเมอร์ ตามลําดับ และมักถูกกําจัดออกไประหว่างการทําให้พอลิเมอร์บริสุทธิ์




               5.4  การเกิดพอลิเมอร์แบบอิมัลชัน (Emulsion polymerization)

               การเกิดพอลิเมอร์แบบอิมัลชันเป็นวิธีการที่นิยมใช้กับการเกิดพอลิเมอร์แบบเติมที่ใช้อนุมูลอิสระเป็น
               สารริเริ่มปฏิกิริยา และใช้นํ้าเป็นเฟสของเหลว มอนอเมอร์จึงต้องเป็นชนิดไม่ละลายนํ้า เช่น สไตรีน
               ไวนิลคลอไรด์ บิวทาไดอีน เป็นต้น ในขณะที่สารริเริ่มปฏิกิริยาต้องละลายได้ดีในนํ้า มอนอเมอร์จะ

               ถูกทําให้หยดขนาดเล็กกว่าวิธีการเกิดพอลิเมอร์แบบแขวนลอย จนได้เป็นอิมัลชันในนํ้าและมีสารลด

               แรงตึงผิว (Surfactant) ช่วยให้อิมัลชันเสถียร ภาพที่ 3-33 แสดงการเกิดพอลิเมอร์แบบอิมัลชันของ
               PVC









                                           copy right       copy right    copy right    copy right


                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right








               ภาพที่ 3-33 แสดงการเกิดพอลิเมอร์แบบอิมัลชันของ PVC

               ที่มา: ดัดแปลงจาก http://www.gem-chem.net/pvcprod.html



               โมเลกุลของสารลดแรงตึงผิวจะมีปลายด้านหนึ่งที่ชอบนํ้า (Hydrophilic end) กับปลายอีกด้านหนึ่งที่

               ไม่ชอบนํ้า (Hydrophobic end) จะจับตัวกันเรียกว่า ไมเซลล์ (Micelle) โดยหันปลายด้านที่ชอบนํ้า


               ออกด้านนอก ภายในไมเซลล์มีมอนอเมอร์และสารริเริ่มปฏิกิริยาอยู่ด้วยกันจึงเกิดปฏิกิริยาได้สายโซ่




                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93