Page 91 -
P. 91

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                                                                                                       79


                   บทที่ 4


                   โครงสรางและสมบัติของพอลิเมอร
     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                   (Polymer structure and its related properties)



                   พอลิเมอรไดจากมอนอเมอรจํานวนมากตอเชื่อมกันดวยพันธะโควาเลนซ จนไดโมเลกุลขนาดใหญมี

                   ลักษณะเปนสายโซหรือรางแห องคประกอบและโครงสรางทางเคมีของมอนอเมอร รวมถึงจํานวน
                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                   และลักษณะการเชื่อมตอของมอนอเมอรตางมีอิทธิพลโดยตรงตอโครงสรางและสมบัติของพอลิเมอร

                   ตัวอยางสมบัติของพอลิเมอรที่ไดรับอิทธิพลจากโครงสราง ไดแก

                                ความหนาแนน
                                สมบัติเชิงความรอน เชน เอนทัลป (Enthalpy) จุดหลอมเหลว เปนตน

                                สมบัติการละลาย การแพร และสภาพใหซึมได (Permeation)

                                ความวองไวตอปฏิกิริยาเคมี
                   ในขณะที่ความยาวของสายโซพอลิเมอรมีผลตอสมบัติของพอลิเมอร ไดแก ความแข็งแรง ความ

                   หนืด ความยืดหยุน รวมถึงจุดหลอมเหลวดวย


                   ดังนั้น การศึกษาทําความเขาใจความสัมพันธระหวางโครงสรางกับสมบัติของพอลิเมอรจึงแบง
                   โครงสรางเปน 3 ระดับ ตั้งแตระดับอะตอม โมเลกุล จนถึงสายโซพอลิเมอร ดังตอไปนี้



                   1  โครงสรางปฐมภูมิ (Primary structure)
                                           copy right       copy right    copy right    copy right
                   โครงสรางปฐมภูมิเกี่ยวของกับโครงสรางระดับอะตอม ไดแก องคประกอบทางเคมี และการจัดเรียง
                   อะตอมในมอนอเมอร ซึ่งมีอิทธิพลตอสมบัติของมอนอเมอรและพอลิเมอร สมบัติสําคัญที่จะนํามา

                   กลาวในที่นี้คือสภาพมีขั้ว (Polarity) ของโมเลกุล



                   โดยทั่วไปสารประกอบที่สามารถแตกตัวเปนไอออนไดจัดเปนสารมีขั้ว เชน โซเดียมคลอไรด (NaCl)

                   เมื่อเกิดการแตกตัว (พันธะระหวาง Na กับ Cl แตกสลาย) อิเล็กตรอนที่พันธะทั้ง 2 อิเล็กตรอนถาย
                                                         -
                                                                 +
                   โอนไปที่คลอไรดอะตอม ทําใหไดไอออน Cl และ Na  ซึ่งมีสภาพมีขั้วสูง

                   โมเลกุลที่ไดจากอะตอมชนิดเดียวกัน 2 อะตอมเชื่อมตอดวยพันธะโควาเลนซ เชน ไฮโดรเจน (H 2)
                   เปนสารไมมีขั้วเนื่องจากการแบงประจุระหวางอิเล็กตรอน 2 ตัวที่พันธะนั้นเทากัน ในขณะที่โมเลกุล

                   ที่มีอะตอมตางชนิดกัน เชน ไฮโดรเจนฟลูออไรด (HF) การแบงประจุระหวางอะตอมไมเทากัน ประจุ

                   ไปอยูที่อะตอมที่สามารถดึงประจุลบของอิเล็กตรอนมากกวา เรียกวา Electronegative atom ทําให
                   ฟลูออไรดมีความเปนประจุลบและไฮโดรเจนมีประจุบวก แตสภาพมีขั้วที่เกิดขึ้นกับโมเลกุลที่มีพันธะ






                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96