Page 111 -
P. 111

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                                                                                                       99




                                                        1    W 1    W 2
                                                       T g  T g 1  T g 2
     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right

                        W 1 W 2 หมายถึง สัดสวนโดยน้ําหนักของมอนอเมอรชนิด 1 และ 2 ในพอลิเมอรรวม

                        T g1 และ T g2 หมายถึง Tg ของโฮโมพอลิเมอรที่ไดจากมอนอเมอรชนิด 1 และ 2


                   (3)  พอลิเมอรรวมแบบสุมและแบบสลับที่ไดจากมอนอเมอรที่เขากันไมไดแตสามารถเกิดแรง
                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                        ดึงดูดระหวางกันไดสูง คา Tg จะอยูระหวางคา Tg ของโฮโมพอลิเมอรเชนกันแตจะสูงกวาที่

                        คํานวณได จึงนิยมใชการวัดหาคาดวยเครื่องมือ


                   (4)  พอลิเมอรรวมแบบกลุมและแบบตอกิ่งที่ไดจากมอนอเมอรที่เขากันไมได จะมีคา Tg หลายคา
                        ตามจํานวนมอนอเมอรที่ใช และคา Tg แตละคาจะสอดคลองกับคา Tg ของโฮโมพอลิเมอรที่

                        ไดจากมอนอเมอรชนิดนั้น


                   4.2.5  การเติมสารเสริมสภาพพลาสติก (Plasticization)

                   การเติมสารเสริมสภาพพลาสติกจะทําใหสายโซพอลิเมอรอยูหางกันมากขึ้น เพิ่มปริมาตรอิสระ นั่น
                   หมายถึงการทําให Tg ลดลง


                   4.2.6  การเกิดพันธะไขว (Crosslink)

                   การเกิดพันธะไขวทําใหโมเลกุลในสายโซพอลิเมอรตองการพลังงานสูงขึ้นในการเคลื่อนไหว คา Tg
                   จึงสูงขึ้น



                   4.2.7  โครงสรางแบบผลึก

                   โครงสรางแบบผลึกทําใหสายโซพอลิเมอรอยูใกลชิดกันทําใหโครงสรางแข็งแรง จึงตองใชพลังงาน

                   สูงขึ้นในการทําใหสายโซเคลื่อนไหวได นั่นคือคา Tg จึงสูงขึ้นตามคาความเปนผลึก

                   4.3  การตรวจวัดคา Tg

                   การตรวจวัดคา Tg สามารถทําไดหลายวิธี และวิธีที่นิยม ไดแก Differential scanning calorimetry


                   (DSC) และ Dynamic mechanical analysis (DMA) ในที่นี้จะนําหลักการตรวจวัดดวย DSC มา
                   กลาวเนื่องจากสะดวกในการทํางานและสามารถหาไดทั้งคา Tg, Tm และ Tc (Crystallization

                   temperature) และ คาความเปนผลึก

                                           copy right       copy right    copy right    copy right








                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116