Page 107 -
P. 107
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
copy right copy right copy right copy right copy right
copy right copy right copy right copy right copy right copy right
copy right copy right copy right copy right
95
พอลิเมอรอสัณฐานที่อยูในเฟสของแข็ง อะตอมและโมเลกุลตางๆ ในสายโซมีการส ั่นไดเล็กนอย
เทานั้นตามขอ (1) เมื่อไดรับพลังงาน (ความรอน) การสั่นจะรุนแรงขึ้นเปนระดับการเคลื่อนไหวของ
อะตอมบางสวน (ตามขอ (2)) จนถึงระดับที่สามารถสลายแรงดึงดูดระหวางสายโซได ทําใหเกิดการ
copy right copy right copy right copy right copy right copy right
เคลื่อนไหวตามขอ (3) และเริ่มเคลื่อนที่ไดตามขอ (4) ซึ่งเกิดไดเมื่ออุณภูมิสูงกวา Tg เทานั้น หรือ
กลาวอีกนัยหนึ่งวา การเคลื่อนไหวขอ (3) และ (4) จะเกิดไดที่อุณหภูมิสูงกวา Tg เทานั้น
4.2 ปจจัยที่มีผลตอ Tg ของพอลิเมอร
4.2.1 ความยืดหยุนของสายโซหลัก (Chain flexibility)
พอลิเมอรที่มีสายโซยืดหยุนสูง แสดงวาโมเลกุลตางๆ ในสายโซสามารถหมุนรอบแกนหลัก (การ
เคลื่อนไหวขอ (3)) ไดงายโดยใชพลังงานระดับต่ําๆ นั่นหมายความวาคา Tg ต่ํา สายโซพอลิเมอรที่
มีความยืดหยุนสูง ไดแก PE และ Polydimethylsilicone คา Tg ต่ํามากประมาณ -120 และ -123
องศาเซลเซียส ตามลําดับ ในขณะที่สายโซหลักของ Poly(phenylene sulfone) มีความแข็งแรงมาก
จนกระทั่งไมสามารถทําใหเปลี่ยนเฟสได แตเมื่อดัดแปลงโครงสรางดวยการเพิ่มหมูฟงกชันที่มี
พันธะอิเทอรเขาไปในแกนหลักไดเปน Polysulfone ทําใหสายโซมีความยืดหยุนสูงขึ้นและ Tg ลดลง
เหลือ 190 องศาเซลเซียส ดังแสดงในตารางที่ 4-3
ตารางที่ 4-3 ผลของความยืดหยุนของสายโซหลักตอคา Tg ของพอลิเมอร
Polymer Repeat unit Tg (C)
Polyethylene -120
Polydimethylsilicone -123
copy right copy right copy right copy right copy right copy right
Poly(phenylene sulfone) none
190
Polysulfone
ที่มา: รวบรวมจาก Ebewele (2000); http://www.pslc.ws/macrog/level3.htm
copy right copy right copy right copy right
copy right copy right copy right copy right