Page 113 -
P. 113

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                                                                                                      101







     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right










                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right



                   ภาพที่ 4-16 ตัวอยางกราฟ DSC ของพอลิเมอร


                   นําตัวอยางพอลิเมอรมาใหความรอนโดยกําหนดใหมีปริมาณคงที่เพื่อใหอัตราเพิ่มอุณหภูมิของพอลิ-
                   เมอรคงที่ เมื่อถึงจุดหนึ่งตองใหความรอนเพิ่มขึ้นเพื่อรักษาอัตราการเพิ่มของอุณหภูมิใหคงที่ แสดง

                   วา Cp ของพอลิเมอรเพิ่มขึ้น นั่นคือเกิดการเปลี่ยนเฟสของพอลิเมอรจากของแข็งเปนเฟสคลายยาง
                   คา Tg หาไดจากอุณหภูมิที่จุดกึ่งกลางที่มีการเปลี่ยนแปลงปริมาณความรอน


                   เมื่อผาน Tg แลว ยังคงใหความรอนตอไปจนพอลิเมอรมีพลังงานมากพอเริ่มเคลื่อนไหว สายโซจะ

                   เคลื่อนเขาหากันและจัดเรียงตัวแบบผลึกซึ่งเปนสภาพที่พอลิเมอรมีพลังงานต่ําสุด จึงมีการปลอย
                   พลังงานสวนเกินออกมา ซึ่งปรากฏเปนพีกชี้ลงและ Tc คือคาอุณหภูมิตรงยอดพีก และพื้นที่ใตพีก

                   คือปริมาณความรอนแฝงจากการเกิดผลึกของพอลิเมอร

                                           copy right       copy right    copy right    copy right
                   พอลิเมอรขณะนี้มีโครงสรางแบบผลึกทั้งหมด ความรอนที่เพิ่มเขาไปจนถึงระดับหนึ่งสายโซจะเริ่ม
                   เคลื่อนที่ออกจากผลึกและหลอมเหลว เนื่องจากการเปลี่ยนเฟสนี้เปนไปตามกฎขอที่ 1 ของทฤษฎี
                   อุณหพลศาสตร จึงตองใสพลังงานเพิ่มเขาไปและปรากฏพีกของความรอนแฝง  Tm คือ คาอุณหภูมิ


                   ตรงยอดพีก และพื้นที่ใตพีกคือปริมาณความรอนแฝงที่ใชในการหลอมพอลิเมอร


                   การคํานวณคาความเปนผลึก หรือ %Crystallinity ไดจากพื้นที่ใตพีกของ Tm และ Tc ซึ่งแสดง

                   ปริมาณความรอนแฝงที่ใชในการหลอมพอลิเมอร และความรอนแฝงที่ไดจากการเกิดผลึก


                        กําหนดให
                                       m         Mass  of  sample,  g

                                       H  *      Specific  heat  of  melting  of  crystallin e  polymer,  J / g

                                       H m, total    Heat  of  melting  of  total  polymer,  J /  g
                                       H c       Heat  of  crystalliz ation,  J /  g






                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118