Page 179 -
P. 179

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี











                                                                                           8








               _____________________________________________________________________


               ทฤษฎีของอัตราการเกิดปฏิกิริยา






               Theories of Reaction Rates




               _____________________________________________________________________



                       คาคงที่อัตรา (rate constant) ในสมการอัตรา (rate equation) หรือกฎอัตรา (rate law) คือ

               คาคงที่ในสมการแสดงความสัมพันธระหวางอัตราการเกิดปฏิกิริยา (reaction rate) และความเขมขน
               ของสารตั้งตน  และที่จริงแลวคาคงที่อัตรานี้ขึ้นกับอุณหภูมิตามสมการอารเรเนียส (Arrhenius

               equation)  ดังนั้นในที่นี้จะกลาวถึงการคํานวณเพื่อหาคาคงที่อัตราทางทฤษฎี (theoretical rate

               constant)  ของขั้นตอนมูลฐาน (elementary step)  และสามารถประยุกตใชเพื่อหาคาคงที่อัตราของ

               ปฏิกิริยาเคมีที่ประกอบดวยหลายขั้นตอนมูลฐานได  รวมทั้งการหาคาตัวแปรในสมการอารเรเนียส
               คือคาพรีเอกซโพเนนเชียล (pre-exponential factor, A) และพลังงานกระตุน (activated energy, E )
                                                                                                a
                       ทฤษฎีที่นํามาใชเพื่อหาคาคงที่อัตราหรือสมการของคาคงที่  คือ  ทฤษฎีการชน (collision

               theory) และทฤษฎีสารเชิงซอนกัมมันต (activated complex theory) หรือทฤษฎีสภาวะแทรนซิชัน

               (transition state theory)  โดยเริ่มตนจากปฏิกิริยามูลฐานแบบโมเลกุลคูในสภาวะแกส (elementary
               bimolecular gas-phase reaction)  ถาปฏิกิริยาใดที่มีคุณสมบัติดังกลาวจะไดคาคงที่อัตราที่คํานวณ

               ใกลเคียงกับคาที่ไดจากการทดลอง    อยางไรก็ตามปฏิกิริยาทั่วไปจะมีคุณสมบัติที่แตกตางจาก

               สมมุติฐานเริ่มตนที่ใชในการคํานวณ จึงมีการปรับปรุงสมมุติฐานหรือหลักการตางๆ ที่ใชในทฤษฎี
               โดยคํานึงถึงคุณสมบัติที่ซับซอนเพิ่มขึ้นของปฏิกิริยา ตลอดจนระเบียบวิธีตางๆ ที่ใชในการคํานวณ
   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184