Page 66 -
P. 66
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เครื่องมือพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
จากประสบการณ์ที่คลุกคลีในวงการสหกรณ์มาระยะหนึ่ง พบว่า ชุมนุม
สหกรณ์ส่วนใหญ่ยังไม่สามารถแสดงศักยภาพหรือพลังของตนเองได้อย่างที่
ชุมนุมสหกรณ์ไทย : ควรจะเป็น ทำาไมถึงเป็นเช่นนั้น เป็นประเด็นที่ต้องมาช่วยกันหาคำาตอบ
สาเหตุที่ถูกมองข้าม
โครงสร้ำงและระบบกำรออกเสียง ผมใคร่ขอเรียนเป็นเบื้องต้นก่อนว่าในที่นี้ผมไม่ได้นำาเอาปัจจัยภายใน
องค์กรหรือขบวนการอันได้แก่ คน เงิน เครื่องมือและอุปกรณ์ และระบบการ
ปัญหำที่ถูกมองข้ำม จัดการ มาประเด็นหลักในการพิจารณา แต่จะหยิบเอาประเด็นแวดล้อมบางเรื่อง
มาอภิปราย ยิ่งกว่านั้นคงต้องยำ้าว่าสิ่งที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้เป็นความคิดเห็นส่วน
ตัวซึ่งอาจไม่สอดคล้องกับความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญท่านอื่น จึงขอให้ท่านผู้อ่าน
พิจารณาความคิดเห็นที่เสนอนี้ด้วยความรอบคอบ
เกริ่นกันก่อน ประเด็นแรกที่ขอกล่าวถึงคือ โครงสร้างของขบวนการสหกรณ์ไทย ที่
เมื่อกล่าวถึงระดับของสหกรณ์ อาจแบ่งออกเป็น “ระดับปฐม” หรือ เป็นแบบล่างขึ้นบน คือเริ่มจากการตั้งสหกรณ์ขั้นปฐมก่อน แล้วจึงให้สหกรณ์ขั้น
สหกรณ์ที่สมาชิกเป็นบุคคลธรรมดา และ“ชุมนุมสหกรณ์“ ที่มีสมาชิกเป็นสหกรณ์ ปฐมตั้งชุมนุมสหกรณ์ แม้ว่าโครงสร้างแบบนี้จะมีข้อดีหลายประการแต่ก็สร้าง
ในปี 2555 ขบวนการสหกรณ์ออมทรัพย์มีสหกรณ์ออมทรัพย์ระดับปฐมประมาณ ปัญหาบางเรื่องเช่นกัน ที่สำาคัญคือ ปัญหาความไม่เป็นเอกภาพของขบวนการ
1,400 สหกรณ์ สหกรณ์ระดับปฐมเหล่านี้ได้ร่วมกันจัดตั้งชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ ทั้งนี้เนื่องจากแต่ละสหกรณ์เป็นอิสระต่อกัน ต่างสหกรณ์ก็ต่างพัฒนากันไปตาม
ของตนเองขึ้นหลายชุมนุม เราอาจแบ่งชุมนุมเหล่านี้ออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มแรกมี วิถีทางที่คิดว่าเหมาะสม ระบบหรือกติกาที่ใช้ในแต่ละสหกรณ์ก็ไม่เหมือนกัน ทำาให้
ชุมนุมเดียว คือ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นชุมนุมใหญ่ที่สุด มี การบูรณาการงานเข้าด้วยกันทำาได้ยาก มีผลต่อเนื่องไปถึงความไม่มีประสิทธิภาพ
สมาชิกเป็นสหกรณ์ออมทรัพย์จากทุกสาขาอาชีพ กลุ่มที่สองเป็นชุมนุมของสหกรณ์ ในการดำาเนินงานของขบวนการ (แม้ว่าในระดับของสหกรณ์ขั้นปฐมอาจมีบาง
ออมทรัพย์แต่ละสาขาอาชีพ เช่น ชุมนุมของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำารวจ ของสหกรณ์ สหกรณ์ประสบความสำาเร็จก็ตาม) และความไม่ประหยัดจากขนาดของกิจกรรม
ซึ่งความประหยัดนี้เป็นคุณประโยชน์สำาคัญของงานสหกรณ์
ออมทรัพย์ครู ของสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุข เป็นต้น และกลุ่มที่สามเป็น ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดประการหนึ่ง คือระบบ IT ของขบวนการสหกรณ์ ที่
ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ที่เน้นการทำาหน้าที่เฉพาะด้าน ได้แก่ชุมนุมสหกรณ์ออม ต่างสหกรณ์ต่างก็พัฒนาขึ้น (หรือซื้อ) มาใช้กันเอง ทำาให้เสียค่าใช้จ่ายสูงมาก ขณะ
ทรัพย์ไทยไอซีที เน้นการทำาธุรกิจซอฟท์แวร์ ชุมนุมสหกรณ์ธนกิจไทย เน้นทำา ที่ไม่สามารถเชื่อมต่อการทำาธุรกิจกับสหกรณ์อื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำาให้
หน้าที่บริหารเงินเหลือของสหกรณ์สมาชิก ไม่สามารถแข่งขันกับธุรกิจเอกชนได้ ทั้งนี้หากขบวนการสหกรณ์มีระบบ IT ที่ใช้
56 57