Page 65 -
P. 65
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สหกรณ์ออมทรัพย์ เครื่องมือพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แนวทางการแก้ไขปัญหาเพื่อการพัฒนาสหกรณ์ ออมทรัพย์เองก็สามารถให้ความช่วยเหลือกันเองได้ ทั้งนี้นอกจากชุมนุมสหกรณ์
เมื่อพิจารณาถึงประเด็นปัญหาข้างต้นแล้ว เห็นว่าควรมีการดำาเนินการ ออมทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว ก็ยังมีสหกรณ์ออมทรัพย์ขนาดใหญ่อีกหลายแห่ง
ดังต่อไปนี้ ที่พร้อมจะให้ความช่วยเหลือในเรื่องนี้
1) ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย (ภาครัฐ ขบวนการแรงงาน ขบวนการสหกรณ์ และ อนึ่ง สำาหรับปัญหาที่เกิดจากการดำาเนินการของภาครัฐนั้น ขบวนการ
สถาบันวิชาการ) ควรเร่งทำาความเข้าใจกับนายจ้าง ถึงวิธีการและคุณประโยชน์ สหกรณ์ต้องช่วยกันชี้แจงทำาความเข้าใจกับภาครัฐ รวมถึงอาจเสนอตัวทำางาน
ของสหกรณ์ต่อสมาชิกซึ่งเป็นพนักงานของบริษัท รวมถึงประโยชน์ที่จะเกิดแก่ ร่วมกับภาครัฐในการแก้ไขปัญหาของสังคมในส่วนที่สหกรณ์สามารถทำาได้ เช่น
สถานประกอบการ ทั้งนี้หากนายจ้างเข้าใจแล้ว อาจช่วยแก้ไขปัญหาอื่นๆ ของ ร่วมมือในการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ ร่วมมือกันสร้างระบบสวัสดิการประชาชน
สหกรณ์ด้วย เช่นปัญหาด้านสถานที่ เครื่องไม้เครื่องมือและอุปกรณ์ ตลอดจน (เริ่มต้นที่สมาชิกก่อน) เป็นต้น
พนักงานเจ้าหน้าที่ ที่จะช่วยทำางานให้กับสหกรณ์โดยเฉพาะในระยะแรกๆ ที่
สหกรณ์ยังไม่เข้มแข็ง ยิ่งกว่านั้นฝ่ายนายจ้างอาจให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ ส่งท้ายก่อนจาก
สหกรณ์ด้วยก็เป็นไปได้ (เกิดขึ้นแล้วในหลายสหกรณ์) มักมีคำาถามถามอยู่เสมอว่า “สหกรณ์จะสามารถพัฒนาและเจริญเติบโต
2) พนักงานบริษัทที่เป็นสมาชิกของสหกรณ์ โดยเฉพาะผู้นำาสหกรณ์ จะ ในหมู่ผู้ใช้แรงงานที่มีความยากจนได้หรือไม่?” ในทัศนะของผู้เขียน คำาถามนี้
ต้องแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าการเป็นสมาชิกของสหกรณ์หรือกรรมการของ เป็นคำาถามที่เชยมาก ทั้งนี้ หากได้ศึกษาประวัติและพัฒนาการของสหกรณ์อย่าง
สหกรณ์นั้นไม่ได้ทำาให้ประสิทธิภาพในการทำางานลดลง (โดยอ้างว่าต้องเจียดเวลา ถ่องแท้แล้ว จะทราบว่าขบวนการสหกรณ์สากลมีรากเหง้ามาจากผู้ใช้แรงงานที่
บางส่วนไปทำางานให้สหกรณ์) รวมถึงให้ความร่วมมือกับนายจ้างอย่างเต็มที่ในการ ยากไร้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหกรณ์แห่งแรกของโลก คือ “สหกรณ์รอชเดล” ก็จัดตั้ง
พัฒนาให้การทำางานของสมาชิกของสหกรณ์มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ทั้งนี้จำาเป็น ขึ้นมาโดยผู้ใช้แรงงาน ดังนั้นจึงไม่มีข้อสงสัยใดๆ เลยว่างานสหกรณ์จะมีความ
ต้องมีการอบรมแก่สมาชิกเพื่อสร้างความเข้าใจในด้านสหกรณ์ และการจัดการ เหมาะสมหรือไม่ที่จะจัดตั้งในหมู่ผู้ใช้แรงงานหรือในสถานประกอบการ สำาหรับ
ในประเทศไทย ก็พบว่าสหกรณ์ออมทรัพย์ในสถานประกอบการหลายแห่งได้แสดง
การเงินส่วนบุคคล ควบคู่ไปกับการสร้างจิตสำานึกในเรื่องของความรักองค์กร (สถาน
ประกอบการ) และการทำางานอย่างมีประสิทธิภาพ บทบาทอย่างชัดเจนในการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของสมาชิกให้ดีขึ้น และแม้ว่า
จะมีสหกรณ์อีกหลายแห่งที่ยังตกอยู่ในวงจรแห่งปัญหา แต่ผู้เขียนเชื่อว่าจะเป็น
3) สหกรณ์เองต้องพยายามทำาธุรกิจของตนให้มีประสิทธิภาพ มีผลการ ปัญหาเฉพาะในระยะแรกๆ เท่านั้น เมื่อพัฒนาไประยะหนึ่งแล้ววงจรดังกล่าวจะ
ดำาเนินการที่เป็นประโยชน์ต่อสมาชิกอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งจะส่งผลต่อความเชื่อ เปลี่ยนเป็นวงจรแห่งการพัฒนา สมกับที่มีการพูดกันว่าสหกรณ์เป็นองค์กรมหัศจรรย์
มั่นและความสำาเร็จของสหกรณ์ในระยะต่อๆ ไป ที่เริ่มต้นด้วยความขาดแคลน แล้วพัฒนาไปสู่ความพอเพียงและมั่งคั่งในที่สุด
4) สำาหรับปัญหาด้านเงินทุนของสหกรณ์ นอกเหนือจากการสนับสนุน
จากสถานประกอบการแล้ว สหกรณ์อาจขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานของ
รัฐที่ดูแลงานด้านสหกรณ์ และด้านแรงงาน นอกจากนั้นขบวนการสหกรณ์
54 55