Page 58 -
P. 58
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สหกรณ์ออมทรัพย์ เครื่องมือพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ข้อมูลว่าเจ้าหนี้บางรายเรียกดอกเบี้ยสูงถึงร้อยละ 60 ต่อเดือน ทั้งนี้ส่วนใหญ่จะ มีเงินเหลือและต้องการออมแบบชั่วคราวก็สามารถออมได้ในรูปของเงินฝาก ซึ่ง
เรียกเก็บดอกเบี้ยทันทีที่จ่ายเงินกู้ให้ ยิ่งกว่านั้นยังมีข่าวอยู่เสมอว่าผู้ให้กู้เหล่านี้มี สามารถถอนคืนได้ตามเงื่อนไขที่ตกลงกัน การออมในรูปของเงินฝากนี้ได้
วิธีการทวงถามหนี้ที่รุนแรงถึงขั้นทำาร้ายร่างกาย ปัญหาเหล่านี้ทำาให้ผู้ใช้แรงงาน ผลตอบแทนเป็นดอกเบี้ย ซึ่งโดยทั่วไปจะสูงกว่าของสถาบันการเงินอื่นๆ
ต้องมีชีวิตอยู่อย่างยากลำาบาก และเป็นผลเสียอย่างมากต่อประสิทธิภาพในการ เงินออมที่กล่าวถึงข้างต้นนี้จะถูกนำามาบริหารให้สมาชิกที่มีปัญหาทางการ
ทำางานของแรงงานเหล่านี้ เนื่องจากต้องคอยกังวลใจกับปัญหาหนี้สิน และเมื่อมี เงินกู้ไปใช้แก้ปัญหา โดยคิดดอกเบี้ยในอัตราตำ่า เช่น ร้อยละ 1 ต่อเดือน หรือร้อยละ
ปัญหาและความเครียดมากขึ้น การรวมตัวเพื่อเรียกร้องค่าจ้างและสวัสดิการต่างๆ 12 ต่อปี ซึ่งตำ่ามากเมื่อเปรียบเทียบกับแหล่งเงินกู้นอกระบบที่บางแห่งคิดดอกเบี้ย
จากสถานประกอบการก็จะมีมากขึ้นตามไปด้วย ส่งผลทำาให้ประสิทธิภาพการผลิต ในอัตราร้อยละ 20 ต่อเดือนหรือสูงกว่า และเมื่อถึงสิ้นปีถ้าสหกรณ์มีกำาไร ก็อาจ
ของสถานประกอบการโดยรวมตำ่าลง ขณะที่ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น และผลประกอบ เฉลี่ยคืนดอกเบี้ยบางส่วนให้กับสมาชิกผู้กู้ด้วย ทำาให้ดอกเบี้ยเงินกู้สุทธิตำ่าลงไปอีก
การของสถานประกอบการเลวลง นอกจากนั้นกำาไรยังอาจถูกจัดสรรไปเป็นทุนสำารอง ค่าบำารุงสันนิบาตแห่งประเทศไทย
เงินปันผลแก่หุ้นของสมาชิก ทุนสาธารณประโยชน์ เป็นต้น
สหกรณ์ออมทรัพย์: เครื่องมือในการแก้ปัญหา คล้ายกับสหกรณ์ออมทรัพย์อื่นๆ นอกเหนือจากกิจกรรมหลักๆ อย่างการ
จริงๆ แล้วปัญหาในลักษณะที่กล่าวถึงข้างต้นนี้เกิดขึ้นมานานแล้วและ ส่งเสริมการออมและการให้กู้แล้ว ปัจจุบันสหกรณ์ออมทรัพย์ในสถานประกอบ
เกิดขึ้นทั่วโลก เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว เมื่อประมาณ 170 ปี ที่แล้ว ผู้นำาแรงงาน การหลายแห่งได้จัดสวัสดิการพิเศษให้แก่สมาชิกด้วย เช่น การให้ความช่วยเหลือ
และผู้นำาความคิดในยุโรปจึงได้สร้าง “สหกรณ์” ขึ้นมาเพื่อใช้เป็นเครื่องมือใน ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล การให้ทุนการศึกษาแก่บุตรหลานของสมาชิก
การปรับปรุงสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของแรงงานให้ดีขึ้นภายใต้หลักการแห่งการ เป็นต้น ยิ่งกว่านั้น หลายสหกรณ์ยังมีแนวคิดในการสะสมเงินไว้เป็นเงินขวัญถุง
ช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน บนพื้นฐานแห่งความเสมอภาคเท่า ให้แก่สมาชิกเมื่อต้องออกจากการเป็นสมาชิกด้วย
เทียมกัน ขบวนการแรงงานและนักวิชาการของไทยเองก็ตระหนักถึงความสำาคัญ
ของสหกรณ์ และได้นำามาใช้ในสถานประกอบการของไทยอย่างเป็นทางการเมื่อ ส่งท้ายก่อนจาก
ปี พ.ศ. 2518 โดยการจัดตั้ง “สหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานกู๊ดเยียร์ (ประเทศไทย) ที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า สหกรณ์ออมทรัพย์ในสถานประกอบการ เป็น
จำากัด” และได้ขยายการจัดตั้งไปในสถานประกอบการอื่นๆ อย่างต่อเนื่องและ องค์กรที่มีประโยชน์อย่างยิ่ง สามารถช่วยแก้หรือบรรเทาปัญหาหนี้สิน และสร้าง
กว้างขวาง ความมั่นคงทางการเงินในอนาคตให้กับสมาชิกโดยเฉพาะที่เป็นผู้ใช้แรงงานได้ ซึ่ง
เช่นเดียวกับสหกรณ์ออมทรัพย์ทั่วไป สมาชิกทุกคนจะต้องออมเงินในรูป จะมีผลต่อเนื่องไปถึงประสิทธิภาพในการทำางานของสมาชิก และสถานประกอบ
ของหุ้นอย่างต่อเนื่องสมำ่าเสมอ (โดยปกติเดือนละครั้ง) ทั้งนี้การออมในรูปของหุ้น การโดยรวม ลดภาระในการจัดสวัสดิการแก่แรงงานและบุคลากรอื่นๆ ของสถาน
จะได้รับผลตอบแทนในรูปของเงินปันผล ซึ่งจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับผลประกอบ ประกอบการ ยิ่งกว่านั้นมีงานวิจัยบางชิ้นชี้ว่าสถานประกอบการที่มีสหกรณ์
การของสหกรณ์ในแต่ละปี นอกจากออมในรูปของการถือหุ้นแล้วหากสมาชิกยัง ออมทรัพย์ มีอัตราการประท้วงของแรงงานน้อยกว่าสถานประกอบการที่ไม่มี
48 49