Page 54 -
P. 54

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
                                                             สหกรณ์ออมทรัพย์                 เครื่องมือพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม


           ต้องการซื้อเพื่อให้ทัดเทียมกับเพื่อนบ้าน (เลียนแบบการบริโภค) สินค้าเหล่านี้ส่วน   เป็นมูลค่าหลายแสนล้านบาท ทำาให้เกิดความเดือดร้อนอย่างกว้างขวางจนรัฐต้อง

           ใหญ่มีราคาค่อนข้างแพง และชาวบ้านจำานวนมากต้องกู้เงินมาซื้อหรือซื้อในระบบ          เดือดร้อนเข้ามาดูแลแก้ไขอย่างใกล้ชิด
           เงินผ่อน จึงเกิดปัญหาหนี้สินจากการบริโภคตามมา                                             สิ่งที่เกิดขึ้นชี้ให้เห็นถึงความไม่เข้าใจหรือเข้าใจคลาดเคลื่อนของผู้มีอำานาจ

                                                                                             ที่มีต่อสหกรณ์ในหลายประเด็นที่สำาคัญคือ (1) ไม่เข้าใจปรัชญาพื้นฐานของสหกรณ์
           สหกรณ์เครื่องมือในการแก้ปัญหา                                                     ที่พยายามสอนให้สมาชิกช่วยเหลือตนเอง ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ภายใต้ความ

                  เพื่อแก้ไขปัญหาข้างต้น ชาวบ้านภายใต้การสนับสนุนของภาครัฐ ร่วมกัน           ร่วมมือและความเสมอภาคเท่าเทียมกัน สอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

           จัดตั้งสหกรณ์ ขึ้นภายใต้แนวคิดของการช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและ          ซึ่งเป็นแนวทางแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนและทำาให้ผู้เกี่ยวข้องพึ่งพาตนเองได้ในที่สุด
           กัน ความเสมอภาคเท่าเทียมกัน และการทำางานแบบมีส่วนร่วม สหกรณ์จำานวน                ไม่ฉาบฉวยเหมือนการลดแลกแจกแถมที่หลายฝ่ายชอบทำากัน

           มากสามารถดำาเนินงานได้ผลดี และกลายเป็นที่พึ่งของสมาชิกได้อย่างเป็นรูปธรรม                 (2) ผู้มีอำานาจอาจเข้าใจว่าเมื่อมีสหกรณ์ขึ้นมาแล้วทำาให้เกิดปัญหาหนี้
           ตัวอย่างเช่น สหกรณ์ออมทรัพย์ในสถานประกอบการสามารถลดภาระดอกเบี้ยที่                สิน ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง เพราะการตั้งสหกรณ์ขึ้นมาก็เพื่อแก้ไขปัญหา

           ผู้ใช้แรงงานต้องเสียแก่นายทุนเงินกู้นอกระบบซึ่งคิดดอกเบี้ยในอัตราที่สูงมาก เช่น   หนี้สิน ตามที่ได้กล่าวถึงไว้แล้ว ซึ่งหมายความว่าปัญหาหนี้สินมีมาก่อนการตั้ง
           ร้อยละ 20 ต่อเดือน เป็นต้น ขณะที่สหกรณ์ทั่วไปคิดดอกเบี้ยในอัตราตำ่ามากเช่น        สหกรณ์ และสหกรณ์ได้ช่วยลดภาระดอกเบี้ยที่สูงมากจากการกู้ยืมจากแหล่งอื่น

           ร้อยละ 1 ต่อเดือน เป็นต้น เช่นเดียวกัน สหกรณ์ออมทรัพย์ครูก็ได้ให้ความช่วย         ดังนั้นในความเป็นจริงแล้วสหกรณ์ควรได้รับการประกาศเกียรติคุณในเรื่องนี้แทนที่
           เหลือในด้านการเงินแก่ครูผู้เป็นสมาชิกทำาให้สามารถลดค่าใช้จ่ายในเรื่องดอกเบี้ย     จะถูกกล่าวถึงในฐานะตัวร้ายที่ทำาให้เกิดปัญหาหนี้สิน

           เงินกู้ได้อย่างมากมาย นอกจากนั้นยังมีตัวอย่างของสหกรณ์การเกษตร เครดิต

           ยูเนี่ยน และอื่นๆ ที่ช่วยลดภาระหนี้สินและความยากจนของประชาชนได้อย่างมี                    (3) ผู้มีอำานาจอาจเข้าใจว่า “หนี้สิน” กับ “ปัญหาหนี้สิน” เป็นสิ่งเดียวกัน
           นัยสำาคัญ                                                                         ซึ่งต้องช่วยกันปรับความเข้าใจในเรื่องนี้ใหม่ ทั้งนี้หนี้สินเป็นเรื่องธรรมดาของระบบ
                                                                                             ทุนนิยม หลักการบัญชีทั่วไปก็เขียนไว้ชัดเจนว่า “สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน” ดังนั้น

           สหกรณ์ในมุมมองของรัฐและความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่ต้องแก้ไข                          หนี้สินไม่ใช่สิ่งเลวร้ายหรือเป็นปัญหาเสมอไป บุคคลหรือนิติบุคคลที่เป็นหนี้ไม่
                                                                                             จำาเป็นต้องมีปัญหา และหนี้สินอาจเป็นแหล่งที่มาของความมั่งคั่งของผู้เกี่ยวข้อง
                  แม้ว่าสหกรณ์จะแสดงบทบาทในการแก้ปัญหาและสร้างประโยชน์แก่

           ประชาชนได้อย่างเป็นรูปธรรม แต่ดูเหมือนว่าคุณประโยชน์ที่สร้างขึ้นนั้นไม่ได้อยู่    ก็ได้ สำาหรับหนี้สินที่เป็นปัญหานั้นคือหนี้สินที่ไม่สามารถชำาระคืนได้ตามกำาหนด
           ในสายตาของรัฐ และบางครั้งยังถูกมองว่าเป็นตัวสร้างปัญหาหนี้สินให้แก่ประชาชน        เท่านั้น ดังนั้นผู้มีปัญหาหนี้สินจริงๆ อาจมีสัดส่วนไม่มากนักเมื่อเทียบกับคนที่เป็น

           ดังที่ได้เกริ่นไว้แล้วในตอนต้น เช่น ขณะนี้สหกรณ์ออมทรัพย์ครู ถูกภาคราชการ         หนี้ทั้งหมด ในกรณีของบุคลากรทางการศึกษาที่กล่าวถึงข้างต้นนั้น เท่าที่ทราบ
           และสังคมเข้าใจผิดว่าเป็นตัวการสร้างภาระหนี้สินให้แก่บุคลากรทางการศึกษา            ส่วนใหญ่มีหนี้สินแต่ไม่มีปัญหาในการชำาระคืน

         44                                                                                                                                                    45
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59