Page 52 -
P. 52
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เครื่องมือพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
การพัฒนาและปัญหาภายใต้ระบบทุนนิยม
สังคมไทยในอดีตเป็นสังคมที่ไม่ซับซ้อนสามารถพึ่งพาตัวเองได้ค่อนข้าง
สหกรณ์ออมทรัพย์ : สมบูรณ์ จากฐานทรัพยากรและภูมิปัญญาที่มีอยู่ อย่างไรก็ตาม หลังจากที่ได้ติดต่อ
กับต่างประเทศมากขึ้น ได้เรียนรู้และนำาเอาแนวคิดการพัฒนาจากประเทศตะวันตก
เข้ามาใช้ โดยเฉพาะแนวคิดแบบทุนนิยมที่เน้นการแบ่งงานกันทำาและการรวมศูนย์
ทำงแก้หรือสำเหตุ การผลิต จากนั้นนำาเอาผลผลิตมาแลกเปลี่ยนซื้อขายกันโดยมีเงินตรา องค์กรธุรกิจ
และตลาดเป็นสื่อกลาง ทุกคนในสังคมมีอิสระในการผลิตและการบริโภค ผู้ผลิต
ของปัญหำหนี้สิน ? ทำาการผลิตเพื่อหวังกำาไรสูงสุด ผู้บริโภคบริโภคเพื่อให้ได้ความพอใจสูงสุด และ
เชื่อมั่นว่าการแข่งขันจะนำามาซึ่งประสิทธิภาพและความเจริญรุ่งเรือง การพัฒนา
ตามแนวทางนี้ทำาให้เศรษฐกิจของประเทศไทยเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
แต่ภายใต้กระแสการพัฒนาดังกล่าว สังคมไทยต้องเผชิญปัญหาอย่าง
รุนแรง และกลายเป็นสังคมที่อ่อนแอพึ่งพาตนเองไม่ได้ เมื่อเป้าหมายการผลิต
เกริ่นกันก่อน เปลี่ยนไปจากเดิมที่เน้นการผลิตเพื่อเลี้ยงตนเองไปเป็นผลิตเพื่อขาย การผลิตต้อง
มีข่าวอยู่เสมอว่า ปัญหาหนี้สินของบุคลากรทางการศึกษาของไทยมีความ คำานึงถึงความต้องการของตลาดหรือผู้ซื้อเป็นหลัก สิ่งที่ผลิตจึงไม่จำาเป็นต้องเป็น
รุนแรงมาก โดยมีหนี้สินรวมกันถึงเกือบล้านล้านบาท โดยเจ้าหนี้รายใหญ่ที่สุดของ ของที่จำาเป็นในชีวิตประจำาวัน และเพื่อให้ได้รายได้มากที่สุดการผลิตจึงเน้นการ
บุคลากรเหล่านี้คือ “สหกรณ์ออมทรัพย์” ผมเห็นข่าวแล้วมีความรู้สึกว่าน่าจะ ผลิตสินค้าเฉพาะอย่างและเป็นการผลิตขนาดใหญ่ มีการทำาลายทรัพยากรธรรมชาติ
ทำาให้เข้าใจผิดว่าสหกรณ์ออมทรัพย์คือตัวการร้ายที่ทำาให้บุคลากรทางการศึกษา อย่างมากมาย พร้อมๆ กับการนำาเทคโนโลยีจากภายนอกเข้ามาใช้ ต้องการเงิน
เป็นหนี้สินล้นพ้นตัว ในฐานะที่อยู่ในวงการสหกรณ์และพอทราบข้อมูลอยู่บ้าง ผม ทุนมากขึ้น ใครไม่มีเงินทุนของตนเองก็ต้องไปกู้หนี้ยืมสินมาลงทุน โดยหวังว่าเมื่อ
เห็นว่ามีความจำาเป็นที่ขบวนการสหกรณ์ต้องชี้แจงให้สังคมเข้าใจความจริงว่าเป็น ได้ผลผลิตแล้วก็จะจำาหน่ายสู่ตลาดได้เงินกลับมาใช้คืนหนี้สินดังกล่าว รวมถึงนำา
อย่างไร ซึ่งผู้ที่จะชี้แจงได้แจ่มชัดที่สุดคงไม่พ้นสหกรณ์ที่เกี่ยวข้อง อย่างไรก็ตาม มาใช้จ่ายซื้อเครื่องอุปโภคบริโภค และลงทุนต่อไป อย่างไรก็ตามบ่อยครั้งที่การ
ผมเห็นว่าคงเป็นการดีที่คนในขบวนการจะช่วยกันชี้แจงโดยเฉพาะในส่วนที่ตัวเอง ผลิตเกิดความเสียหาย หรือไม่สามารถจำาหน่ายผลผลิตได้ตามที่คาดหวังเนื่องจาก
พอจะทำาได้ ผมจึงขอมีส่วนร่วมเล็กๆ ที่จะพูดถึงเรื่องนี้ โดยขอเริ่มจากการทบทวน ผลผลิตล้นตลาด ทำาให้เกิดปัญหาหนี้สิน การสูญเสียที่ดินทำากิน และเกิดความ
พัฒนาการและปัญหาจากระบบทุนนิยมก่อน จากนั้นจึงพูดถึงประเด็นความเข้าใจ ยากจนตามมา
คลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้นโดยภาครัฐ ในด้านการบริโภค พบว่าสินค้าที่คนในชุมชนบริโภคนั้นส่วนใหญ่ไม่สามารถ
ผลิตได้เอง และสินค้าหลายชนิดไม่มีความจำาเป็นต่อการครองชีพเลย แต่ชาวบ้าน
42 43