Page 72 -
P. 72
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
59
ตารางที่ 4-6 ความพึงพอใจตอกระบวนการทํางานและคุณภาพการใหบริการในดานตางๆ ของ
เกษตรกรหลังรับการสงเคราะห
ความพึงพอใจ
กิจกรรม
คาเฉลี่ย SD แปลผล
1. การจัดตั้งกลุมเกษตรกร 4.17 0.86 มาก
1.1. การอบรม/ แนะนําในการจัดตั้งกลุม 4.14 0.87 มาก
1.2 ประโยชนของการจัดตั้งกลุมเกษตรกร 4.20 0.85 มาก
2. การจัดอบรมใหคําแนะนําทางวิชาการ 4.16 0.83 มาก
2.1 การบํารุงรักษาสวนยาง เชน การใสปุย ปราบวัชพืช 4.27 0.77 มากที่สุด
2.2 การกรีดยาง 4.15 0.85 มาก
2.3 การทํายางแผนชั้นดี 4.05 0.93 มาก
2.4 ความเหมาะสมของระยะเวลาที่ใชในการจัดอบรม 4.02 0.88 มาก
2.5 ความเหมาะสมของชวงเวลาที่จัดอบรม 4.01 0.88 มาก
2.6 เอกสารแนะนําประกอบการอบรม 4.07 0.88 มาก
2.7 วิทยากรที่ใหคําแนะนํามีความรู ความเชี่ยวชาญ 4.27 0.79 มากที่สุด
2.8 สิ่งอํานวยความสะดวก เชน สถานที่ อุปกรณการอบรม 4.27 0.76 มากที่สุด
โตะ เกาอี้เพียงพอ
2.9 ประโยชนของคําแนะนําและสามารถนําไปใชได 4.29 0.74 มากที่สุด
3. ตลาดยางพารา 3.93 0.86 มาก
3.1 ความพอเพียงของจํานวนตลาดที่ใหบริการ 3.80 0.91 มาก
3.2 ความรวดเร็ว ความเปนธรรม ความโปรงใส 3.97 0.79 มาก
การดูแลคุณภาพยาง
3.3 การประชาสัมพันธขอมูลราคายางประจําวัน 3.78 0.92 มาก
3.4 ความรวดเร็ว และความถูกตอง ดานการเงิน 4.07 0.80 มาก
3.5 ประโยชนตลาดยางพาราในการดูแลของ สกย. 4.04 0.84 มาก
3.6 ราคายางพาราของตลาดยาง สกย. เมื่อเทียบ 3.90 0.91 มาก
กับราคายางในทองถิ่น
4. การใหบริการของ สกย. 4.54 0.64 มากที่สุด
4.1 การใหความสะดวกในการมาขอรับบริการ 4.52 0.67 มากที่สุด
4.2 การมีมนุษยสัมพันธของพนักงาน 4.55 0.62 มากที่สุด
4.3 บุคลิกภาพของพนักงานที่ใหบริการ
1) การแตงกาย 4.53 0.65 มากที่สุด
2) การใชวาจาสุภาพ 4.57 0.62 มากที่สุด
3) ความกระตือรือรนในการใหบริการ 4.51 0.65 มากที่สุด
เฉลี่ย 4.18 0.80 มาก