Page 71 -
P. 71
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
58
ตารางที่ 4-5 (ตอ)
ขอมูล จํานวน (ราย) รอยละ
จํานวนแรงงานกรีดยาง
แรงงานในครัวเรือน
ไมมีแรงงานในครัวเรือน 110 26.38
มีแรงงานในครัวเรือน 307 73.62
1 - 3 ราย (273) (88.93)
4 - 6 ราย (31) (10.10)
มากกวา 6 รายขึ้นไป (3) (0.98)
รวม 447 100.00
Min = 1 ราย Max = 8 ราย ̅ = 2 ราย
แรงงานจากการจาง
ไมมีแรงงานจากการจาง 247 59.23
แรงงานจากการจาง 170 40.77
1 - 3 ราย (122) (71.76)
4 - 6 ราย (39) (22.94)
มากกวา 6 รายขึ้นไป (9) (5.29)
รวม 417 100.00
Min = 1 ราย Max = 20 ราย ̅ = 3 ราย
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจตอกระบวนการทํางานและคุณภาพการใหบริการในดานตางๆ
การศึกษาเกษตรกรหลังรับการสงเคราะห จํานวน 417 ราย ในดานของความพึงพอใจตอ
กระบวนการทํางาน และคุณภาพการใหบริการในดานตางๆ พบวา เกษตรกรมีความพึงพอใจมากที่สุด
ตอในการใหบริการของ สกย. (4.54 คะแนน) โดยเฉพาะดานการใชวาจาสุภาพของพนักงาน สกย.
รองลงมามีความพึงพอใจมากที่สุดดานของการจัดตั้งกลุมเกษตรกร (4.17 คะแนน)
นอกจากนั้นจากการศึกษายังพบวา เกษตรกรมีความพึงพอใจในระดับนอยที่สุด คือ
ดานตลาดยางพารา (3.93 คะแนน) โดยเกษตรกรมีความพึงพอใจตอการประชาสัมพันธขอมูลราคา
ยางประจําวันในระดับนอยที่สุด (3.78 คะแนน) รองลงมาดานความพอเพียงของจํานวนตลาดที่
ใหบริการ (3.80 คะแนน) ดานราคายางพาราของตลาดยาง สกย . เมื่อเทียบกับราคายางในทองถิ่น
(3.90 คะแนน) ดานความรวดเร็ว ความเปนธรรม ความโปรงใส การดูแลคุณภาพยาง (3.97
คะแนน) ดานประโยชนตลาดยางพาราในการดูแลของ สกย. (4.04 คะแนน) และความรวดเร็ว และ
ความถูกตอง ดานการเงิน (4.07 คะแนน) ดังตารางที่ 4-6