Page 103 -
P. 103

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                      12-48



                   ของโครงการเท่านั้น) ไปด าเนินการด้วย และให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เร่งรัดให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ
                   การด าเนินงานตามโครงการต่างๆ ที่ได้รับจัดสรรเงินจากกองทุนฯ ติดตามให้กลุ่มเกษตรกรที่ยืมเงินไป

                   ส่งคืนกองทุนฯ โดยเร็วด้วย

                           วันที่ 24 ตุลาคม 2543    คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบโครงการความร่วมมือระหว่าง
                   ส านักงานกองทุนสงเคราะห์การท าสวนยาง (สกย.) กับสมาคมธุรกิจไม้ยางพาราไทย เพื่อแก้ไขปัญหาเงินทุน

                   ไม่เพียงพอในการให้การสงเคราะห์ปลูกแทนยางพารา  และแก้ปัญหาการขาดแคลนไม้ยางพาราในการ
                   ส่งออก และอนุมัติให้ด าเนินการต่อไปได้ ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนอ โดยให้กระทรวงเกษตรฯ

                   รับความเห็นและข้อสังเกตของกระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย์  ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการ

                   เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส านักงบประมาณ  และคณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ  (เกี่ยวกับการ
                   แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์การท าสวนยาง พ.ศ. 2503  และที่แก้ไขเพิ่มเติมในการ

                   จัดเก็บเงินสงเคราะห์จากการส่งไม้ยางออกนอกราชอาณาจักร  กับให้มีมาตรการควบคุมมิให้มีการโค่นไม้

                   ยางพาราที่ยังไม่ครบอายุการตัดโค่น รวมถึงปริมาณการตัดโค่นควรพิจารณาให้สอดคล้องกับความต้องการ
                   ของตลาดในแต่ละช่วงเวลา และเพื่อเป็นการป้องกันผลกระทบด้านราคายาง เห็นควรสนับสนุนและส่งเสริม

                   การปลูกยางตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนายางครบวงจร (2542 - 2546) ตลอดจนการให้สหกรณ์ หรือกลุ่ม

                   เกษตรกรเป็นผู้ด าเนินโครงการกับสมาคมธุรกิจไม้ยางพาราไทย
                           วันที่ 31 ตุลาคม 2543 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบผลการประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนด้าน

                   การเกษตรและป่าไม้  (ASEAN  Ministers  on  Agriculture  and  Forestry  -  AMAF)  ครั้งที่ 22
                   ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ระหว่างวันที่ 25 - 27 ตุลาคม 2543 โดยมีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและ

                   สหกรณ์ (นายประภัตร โพธสุธน) เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไทยใน การประชุมฯ ดังกล่าว ซึ่งมีสาระส าคัญเกี่ยวกับความ

                   ร่วมมือภายใต้กรอบความร่วมมือด้านวิชาการ  การลงนามในพิธีสาร ฉบับที่ 8 ว่าด้วยมาตรการสุขอนามัย
                   และสุขอนามัยพืช  ความร่วมมือระหว่างรัฐมนตรีเกษตรและป่าไม้อาเซียนกับประเทศคู่เจรจา 3 ประเทศ

                   คือ จีน เกาหลี และญี่ปุ่น (AMAF+3) รวมทั้งแนวทางความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาราคาสินค้าเกษตรของ
                   อาเซียน  และแจ้งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องพิจารณาด าเนินการต่อไป  กับเห็นชอบในหลักการในประเด็น

                   การแก้ไขปัญหาราคาสินค้าเกษตร โดยมอบหมายให้ฝ่ายเลขาธิการอาเซียนเร่งศึกษาถึงแนวทาง และกลไก

                   ความร่วมมือทั้งด้านการร่วมวางแผนการผลิต และการส่งเสริมการตลาดเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวต่อไป
                   ตามที่กระทรวงเกษตรฯ เสนอ  และน าประกอบการหารือในการประชุมสุดยอดผู้น าอาเซียนที่ประเทศ

                   สิงคโปร์ในเดือนพฤศจิกายน

                           วันที่ 7 พฤศจิกายน 2543 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามมติคณะกรรมการรัฐมนตรีว่าด้วย
                   นโยบายเศรษฐกิจ  (คศก.) โดยเห็นชอบในหลักการของมาตรการเพิ่มเติมเพื่อแก้ไขปัญหาด้านการเกษตร

                   รวม 4 มาตรการ ได้แก่ การลดความเสี่ยงของเกษตรกร การแก้ไขหนี้สินของเกษตรกร การเพิ่มมูลค่าสินค้า
                   เกษตร การพัฒนาคุณภาพชีวิต รวมทั้งการบริหารและการจัดการ  และให้มีการจัดรับฟังความคิดเห็น

                   สาธารณะเกี่ยวกับมาตรการต่างๆ โดยให้ใช้งบประมาณของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในวงเงิน 50 ล้าน
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108