Page 21 -
P. 21
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
16
Class Polychaeta ลําตัวแบนยาว
ด้านบนโค้งเล็กน้อย
รังแบบท่อเยื่อของไส้เดือนทะเล
ส่วนด้านล่างแบนลง
ด้านหน้าและด้านท้าย
5 mm มีลักษณะเรียว บริเวณ
setae หัวมีหนวดสําหรับใช้
parapodium
ภาพโดย อภิวัฒน์ มรรคเจริญ Diopatra sp. รับสัมผัสเป็นคู่และมี
ไส้เดือนทะเล Polychaetes
เขี้ยวที่ปาก ลําตัวประกอบด้วยปล้องจํานวนมากชัดเจน ด้านข้างของแต่ละ
ไฟลัม Annelida
ปล้องมีรยางค์จํานวนมาก เรียกว่า parapodium ใช้สําหรับว่ายนํ้า และมีขน
กลุ่มสัตว์ Polychaeta ้องมากมาย เรียกว่า setae หรือ chaetae พื้นผิว
ตามรยางค์ในแต่ละปล
ลําตัวทางด้านบนมีสีนํ้าตาลอมเขียวหรือนํ้าตาลอมแดง ส่วนทางด้านล่างมีสี
ลักษณะเด่น
จางกว่า อาศัยอยู่ได้ทั้งในพื้นทะเลและป่าชายเลน โดยฝังตัวในพื้นโคลน พื้น
ทราย ใต้ก้อนหิน ส่วนใหญ่จะดํารงชีวิตเป็นอิสระ (บพิธและนันทพร, 2540)
ไส้เดือนทะเลที่พบได้ง่ายบริเวณป่าชายเลนคลองกําพวน คือ Diopatra sp.
(วงศ์ Onuphidae) ซึ่งเป็นชนิดที่มีการสร้างรังแบบท่อเยื่อ (membranous
tube) โดยสร้างจากเมือกและดึงเอาเศษใบไม้ กิ่งไม้ เชือก หรือเศษวัสดุอื่นๆ
มารวมกัน ไส้เดือนทะเลเป็นอาหารที่สําคัญของปลาและสัตว์นํ้าอื่นๆ
นอกจากนี้ความชุกชุมและชนิดของไส้เดือนทะเลสามารถใช้เป็นดัชนีบ่งชี้ถึง
คุณภาพของแหล่งนํ้าได้ (Chatananthawej and Bussarawit, 1987)