Page 12 -
P. 12

ั
                                                                                   ุ
                                                 ิ
                                          ิ
                                                    ์
                                        ื
                        โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
                                                       ิ
                                                                ิ
               “คู่มือการจัดการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดั“คู่มือการจัดการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรด้วยเกณฑ์ AUN-QA
                                         คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร”
               วิทยาเขตบางเขน ประธานหลักสูตร และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจากฝ่ายทะเบียนและประมวลผลในการเก็บรวบรวม
               ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำข้อมูลมาจัดทำลิงก์รวมข้อมูลในส่วนของคณะ พร้อมแจ้งให้ประธานหลักสูตรรับทราบและ

               นำข้อมูลไปประกอบการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตรในรอบปีการศึกษาที่ตรวจประเมิน
               ความยากของการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องและจัดทำลิงก์รวบรวมข้อมูลจะอยู่ที่ขั้นตอนของการประสานงานเพื่อ

               เก็บรวบรวมข้อมูล และขั้นตอนการนำข้อมูลมาวิเคราะห์ แจกแจงรายละเอียดของแต่ละหลักสูตร ดังนั้น
               ผู้ปฏิบัติงาน จึงได้จัดทำคู่มือการจัดการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรด้วยเกณฑ์ AUN-QA

               คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร

               ในแง่มุมของการทำงานในฐานะผู้รับผิดชอบหลัก รวมถึงการประสานงานกับผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
               การศึกษาจากสำนักงานพัฒนาคุณภาพ วิทยาเขตบางเขน โดยในการดำเนินการดังกล่าว ประกอบด้วย 3

               กระบวนการหลัก 3 กระบวนการ ได้แก่ 1) การดำเนินการก่อนประเมิน 2) การดำเนินการระหว่างประเมิน และ3)
               การดำเนินการหลังประเมินด้วยเกณฑ์ AUN-QA มีรายละเอียดทั้งหมดเป็นภาษาอังกฤษ ดังนั้น ในการรวบรวม

               และจัดเตรียมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกบการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตร ผู้ปฏิบัติงานจึงต้องมีการศึกษา
                                          ั
               เรียนรู้ ทำความเข้าใจเกณฑ์ เพื่อให้การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรตามเกณฑ์ AUN-QA
               เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพตลอดทั้งกระบวนการตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด รวมถึงทราบและเข้าใจกระบวนการและ

               วิธีการปฏิบัติงานที่ถูกต้องเป็นไปตามเกณฑ์และกรอบเวลาที่กำหนด ดังนั้น ผู้ปฏิบัติงานจึงกำหนดแนวทาง

               ขั้นตอน เพื่อใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติงานต่อไป นอกจากนี้ผู้บริหารยังสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการกำกับและ
               ติดตามงานได้ทุกขั้นตอน

                       การจัดทำคู่มือปฏิบัติงานสำหรับสนับสนุนการดำเนินงานตามเกณฑ์ ASEAN University Network -

               Quality Assurance (AUN-QA) มีบทบาทสำคัญในการยกระดับคุณภาพหลักสูตรของคณะและมหาวิทยาลัยให้
               สอดคล้องกับมาตรฐานสากล คู่มือฉบับนี้จะช่วยให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนและสามารถดำเนินการ

               ประเมินคุณภาพได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ บทบาทของสายสนับสนุนถือเป็นหัวใจสำคัญในการ
               จัดเตรียมและรวบรวมข้อมูลหลักสูตร กระบวนการดำเนินงาน และทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปใช้ในการตรวจ

               ประเมินตามกรอบ AUN-QA การสนับสนุนดังกล่าวช่วยเสริมสร้างศักยภาพของหลักสูตรในระดับคณะและ

               มหาวิทยาลัยให้สามารถแข่งขันได้ในระดับนานาชาติ อีกทั้งยังเป็นกลไกสำคัญในการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาให้
               ตอบสนองต่อความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงการส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ

               การดำเนินงานตามเกณฑ์ AUN-QA ต้องอาศัยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก การประเมินจุดแข็ง-จุดออนของหลักสูตร
                                                                                               ่
               และการนำเสนอแนวทางพัฒนาอย่างต่อเนื่อง คู่มือฉบับนี้จึงได้รับการออกแบบให้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางใน

                                                                                ึ
               การวางแผน การดำเนินการ และการติดตามผลการตรวจประเมินคุณภาพการศกษาภายในระดับหลักสูตร ได้อย่าง
               เป็นระบบ เพื่อให้มั่นใจว่าหลักสูตรมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนดและสามารถปรับปรุงให้สอดคล้องกับบริบท
               ของการศึกษาในอนาคต


                                                                                                            3
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17