Page 147 -
P. 147
ิ
ิ
ุ
ั
ิ
ื
์
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
บาท และ 210 ล้านบาทตามล าดับ ข้อความทีระบุไว้ในตั๋วสัญญาใช้เงินดังกล่าว ถือได้ว่าจ าเลยที 1 ได้
่
่
ให้ค ามั่นสัญญาอันปราศจากเงือนไขว่าจะใช้เงินเปนจ านวนแนนอนแก่บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ธ.
่
่
็
่
เจ้าหนีเดิม ตามทีบัญญัติไว้ในมาตรา 983(2) แล้ว ส่วนข้อตกลงเรื่องดอกเบียทีระบุไว้ในตั๋วสัญญาใช้เงิน
่
้
้
่
่
่
็
ก็เปนไปตามทีบัญญัติไว้ในมาตรา 911 ทีว่าด้วยตั๋วแลกเงินซึ่งให้นามาบังคับใช้ในเรืองตั๋วสัญญาใช้เงิน
ี่
ด้วย ข้อตกลงเรื่องดอกเบี้ยทมีข้อตกลงใหปรับเปลยนอัตรำดอกเบ้ยขึ้นลงไดจึงไม่มีผลตอควำม
ี
้
่
้
ี่
สมบรณของตั๋วสัญญำใชเงิน
้
์
ู
่
ี
ี
้
นอกจากนี ในค ำพิพำกษำฎกำท 1738/2551 ศาลฎีกาได้เคยวินิจฉัยว่า ดอกเบียในตั๋วสัญญา
้
่
้
่
ใช้เงินไมได้อยูในบังคับของมาตรา 654 และพระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบียเกินอัตรา ดังนั้น จึง
้
ี
สามารถคิดดอกเบียได้มากกว่าร้อยละ 15 ต่อปได้ ศาลอธิบายว่า “การออกตั๋วสัญญาใช้เงิน และผู้ออก
ี
็
คิดดอกเบียในอัตราร้อยละ 16 ต่อป เปนการตกลงตามมาตรา 911, 968 (1) ประกอบด้วยมาตรา 985
้
ซึงกฎหมายมิได้วางข้อจ ากัดอันใดไว้จึงแล้วแต่คู่กรณีจะตกลงกัน จึงมิใช่การให้กู้ยืมเงินตามความหมาย
่
่
ของ พ.ร.บ.ห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตราฯ การทีระบุอัตราดอกเบี้ยไว้ในตั๋วสัญญาใช้เงินอัตราร้อยละ 16
่
ี
็
ต่อป ก็มิใช่กรณีเรียกดอกเบี้ยเกินอัตราอันจะเปนความผิดตาม พ.ร.บ. ดังกล่าว ทั้งไมต้องห้ามตาม ป.
็
้
พ.พ. มาตรา 654 ตั๋วสัญญาใช้เงินและดอกเบียตามตั๋วสัญญาใช้เงินตามฟองจึงไม่เปนโมฆะ
้
่
่
ในเรืองการจายเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินพร้อมดอกเบียมีค าพิพากษาฎีกาอีกคดีหนึงที่นาสนใจ
้
่
่
ี
้
คือ ค ำพิพำกษำฎกำท 5258/2554 การที่ตั๋วสัญญาใช้เงินก าหนดให้คิดดอกเบียก่อนถึงก าหนดใช้เงิน
ี
่
ตามความในมาตรา 911 จ านวนดอกเบี้ยดังกล่าวจึงเปนจ านวนทีต้องรวมเปนยอดเงินทีผู้ออกตั๋วสัญญา
็
่
่
็
่
้
ใช้เงินและผู้รับอาวัลต้องผูกพันรับผิดเมือมีการไล่เบีย การสลักหลังโอนตั๋วสัญญาใช้เงินจึงต้องเปนการ
็
โอนไปทั้งจ านวนเต็มของยอดเงินทีก าหนดไว้ในตั๋วเงินและดอกเบ้ยทเกิดขึนตำมผลของมำตรำ 911
้
่
ี
ี
่
ี
ี
ึ
่
่
้
้
ี
้
กรณจงไมอำจก ำหนดใหมกำรจำยดอกเบ้ยออกไปจำกตั๋วสัญญำใชเงินก่อนได เพราะจะท าให้
็
ึ
้
ื
ี
ุ
้
่
ความรับผิดในตั๋วสัญญาใช้เงินลดลง กำรระบในตั๋วสัญญำใชเงินใหจำยดอกเบ้ยเปนรำยเดอนจง
เปนกำรก ำหนดข้อควำมอนใด ซงมิไดบัญญัติไวในประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ลักษณะ
็
้
้
ื่
ึ
่
ตั๋วเงิน ถ้าเขียนลงในตั๋วเงิน ท่านว่าข้อความนั้นหาเปนผลอย่างหนึงอย่างใดแก่ตั๋วเงินนั้นไมตามมาตรา
่
่
็
899 ดังนั้น ข้อความทีเขียนให้มีการจายดอกเบี้ยเปน “รายเดือน” จึงถือเสมือนว่าไมมีการเขียนลงไว้ใน
่
่
่
็
้
ตั๋วเงิน โจทก์จึงไมอาจฟองบังคับให้จ าเลยที 2 ผู้รับอาวัลตั๋วสัญญาใช้เงินรับผิดช าระค่าเสียหายจากการ
่
่
่
่
็
ทีจ าเลยที 2 ไม่จ่ายดอกเบียตามตั๋วสัญญาใช้เงินเปนรายเดือนให้แก่โจทก์ได้
้
ค าพิพากษาฎีกานีมีความนาสนใจ เพราะผู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินได้ระบุว่า จะจายดอกเบียเปน
่
้
่
้
็
้
้
“รายเดือน” ซึ่งหมายความว่า ผู้ออกตั๋วต้องจายดอกเบียทุกเดือน แต่การก าหนดจ านวนดอกเบียในตั๋ว
่
็
เงินเปนการค านวณจากเงินต้นของตั๋วเงิน เปนดอกเบียที่ต้องจายเมือถึงวันช าระเงินตามตั๋วเงิน เช่น
็
่
่
้
่
้
ออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้จายเงิน 100,000 บาทพร้อมดอกเบียร้อยละ 1 ต่อเดือน หากตั๋วมีก าหนดช าระ
็
้
หลังจากออกตั๋วเปนเวลา 3 เดือน ย่อมหมายความว่า ลูกหนีตามตั๋วสัญญาใช้เงินต้องรับผิด 103,000
่
่
่
บาท อันถือเปนจ านวนเงินแนนอนทีสามารถค านวณได้ แต่การก าหนดให้จายดอกเบี้ยทุกเดือน คือ เมื่อ
็
146
เอกสารประกอบการสอนวิชากฎหมายว่าด้วยตั๋วเงิน โดย อ. ดร. ชีวิน มัลลิกะมาลย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์