Page 60 -
P. 60

์
                                                                                ิ
                                                                    ิ
                                               ิ
                                   ื
              โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                     ิ

                                                           บทที่ 6
                               การทดลองประสิทธิภาพการใช ้ ปุยส าหรบพันธุ์ข ้าวโพด
                                                                              ั
                                                                      ๋
                                                  ในระดับไร่-นาเกษตรกร

                  พันธุกรรมของข ้าวโพดแต่ละพันธุ์ที่ปลูกโดยใช ้ อัตราปลูกที่เท่ากัน จะมีความต ้องการธาตุอาหารและ
                                         ๋
                  มีประสิทธิภาพในการใช ้ ปุย  (Fertilizer  Use  Efficiency)  เพื่อการเจริญเติบโตและการให ้ผลผลิตที่
                  แตกต่างกัน  ในสภาพไร-นาของเกษตรกรแต่ละพื้นที่  จะมีลักษณะดิน  คุณสมบัติของดินและปริมาณ
                                        ่
                  ธาตุอาหารในดินแตกต่างกัน  ดังน้น  ในการแนะนาพันธุ์ดีให ้เกษตรกรปลูกเพื่อการเพิ่มผลผลิตในแต่

                                                 ั
                  ละพื้นที่ ควรจะมีค าแนะนาอัตราปุยและวิธีการใช ้ ปุย ให ้เหมาะสมกับพันธุ์ ทั้งพันธุ์ข ้าวโพดเลี้ยงสัตว์
                                                ๋

                                                               ๋
                             ั
                                                          ั
                  ข ้าวโพดหมกและพันธุ์ข ้าวโพดรับประทานฝกสด
                  การนาพันธุ์ข ้าวโพดมาทดสอบร่วมกับการใช ้ ปุย       จึงมีความจาเปนที่จะต ้องเลือกพื้นที่ที่มีความ
                                                            ๋


                                                                                  ็
                                                         ั
                                 ็
                  สม่าเสมอ และเปนตัวแทนของพื้นที่ปลูกน้นๆ พันธุ์ที่จะนามาทดลอง ควรเปนพันธุ์ที่เคยทดสอบและ

                                                                                       ็

                  ให ้ผลผลิตดีในสภาพแวดล ้อมปกติในระดับหนึ่งแล ้ว  ส่วนปริมาณและอัตราปุ๋ ยที่จะใช ้ ในการทดลอง
                  ควรก าหนดค่าตามค าแนะนาของค่าวิเคราะห์ดิน  และประยุกต์ใช ้ กับปริมาณผลผลิตที่พันธุ์ข ้าวโพด

                                                                            ื่
                  ตอบสนองได ้สูงสุด รวมทั้งมีความคุ ้มค่าเชิงเศรษฐศาสตร์อันเนองมาจากการใช ้ ปุยด ้วย
                                                                                            ๋
                  ส าหรับแปลงทดลองประสิทธิภาพการใช ้ ปุยของพันธุ์ข ้าวโพดแต่ละพันธุ์น้น    ควรวางแผนปลูกให ้
                                                                                     ั
                                                        ๋
                  ข ้าวโพดแต่ละพันธุ์  ได ้รับปุยในปริมาณที่เท่ากัน  เพื่อจะประเมินได ้ว่าพันธุ์ข ้าวโพดใดให ้ผลผลิต
                                            ๋
                  สูงสุดในอัตราปุยเท่าใด      ซึ่งในแต่ละการทดลองในแต่ละพื้นที่        จาเปนจะต ้องปลูกเปนซ ้า

                                                                                           ็
                                                                                                         ็
                                ๋
                  (replication) ตามตารางการจัดซ ้าของการทดลอง และตัวอย่างแผนการทดลอง ดังตัวอย่างต่อนี้
                                 RANDOM SHEET FOR FERTILIZER x VARIETY TESTING
                   Entry      Entry                    Treatment                  Rep. I    Rep. II  Rep. III
                    No.       Code     N - P2O5---K2O (Kg/ Rai)   Variety
                     1       F0VCK         0.0 - 0.0 - 0.0        CHECK           6101      6210      6305
                     2        F0V1         0.0 - 0.0 - 0.0       Variety #1       6102      6211      6307
                     3        F0V2         0.0 - 0.0 - 0.0       Variety #2       6103      6209      6306
                     4        F0V3         0.0 - 0.0 - 0.0       Variety #3       6104      6212      6308
                     5       F1VCK        24.4 - 6.0 - 18.0       CHECK           6105      6215      6315
                     6        F1V1        24.4 - 6.0 - 18.0      Variety #1       6106      6213      6313
                     7        F1V2        24.4 - 6.0 - 18.0      Variety #2       6107      6216      6314
                     8        F1V3        24.4 - 6.0 - 18.0      Variety #3       6108      6214      6316
                     9       F2VCK        30.5 - 7.5 - 25.5       CHECK           6109      6202      6311
                    10        F2V1        30.5 - 7.5 - 25.5      Variety #1       6110      6204      6312
                    11        F2V2        30.5 - 7.5 - 25.5      Variety #2       6111      6201      6309
                    12        F2V3        30.5 - 7.5 - 25.5      Variety #3       6112      6203      6310
                    13       F3VCK        36.6 - 9.0 - 33.0       CHECK           6113      6208      6304
                    14        F3V1        36.6 - 9.0 - 33.0      Variety #1       6114      6205      6302
                    15        F3V2        36.6 - 9.0 - 33.0      Variety #2       6115      6206      6303
                    16        F3V3        36.6 - 9.0 - 33.0      Variety #3       6116      6207      6301
                                             ค าอธิบายการจัดท า RANDOM SHEET
                                                                        ๋
                                 ๋
                                    ็
                  1. ก าหนดให้ อัตราปุย เปนปัจจัยหลัก (main plot) ประกอบด้วย 4 อัตราปุย (F0 - F3) และ พันธุ์ทดลอง เปนปัจจัยรอง
                                                                                                ็
                      (sub plot) ประกอบด้วย พันธุ์ทดสอบ 3 พันธุ์ (V1 - V3) และพันธุ์เปรียบเทียบ 1 พันธุ์ (VCK)
                                       ็
                  2. ก าหนดให้ Entry Code เปนการจัดและเรียงล าดับปัจจัยหลัก และจัดเรียงปัจจัยรองภายในปัจจัยหลัก ตามล าดับ
                  3. ก าหนดให้มีการบันทึกอัตราปุย และพันธ์ทดสอบ เรียงตามล าดับ Entry Number
                                         ๋
                  4. ก าหนดให้หมายเลขล าดับที่ 1  ของต่ละแปลงย่อยทั้ง 3 ซ ้า หมายถึงการทดลองที่ 6 ของฤดูปลูก
                  5. ก าหนดให้หมายเลขล าดับที่ 2 ของแต่ละแปลงย่อย ได้แก่ "1", "2" และ "3" แสดงถึงแปลงย่อยในซ ้าที่ 1, 2 และ 3
                      ตามล าดับ
                  6. ก าหนดให้แปลงย่อยในซ ้าที่ 1 เรียงล าดับตาม entry ในขณะที่ซ ้าที่ 2 และซ ้าที่ 3 มีการสุ่มภายใน block อย่างสมบูรณ์
                       และมีการสุ่มในทุกๆสภาพแวดล้อม (location) ของการทดลอง


                                                              59
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65