Page 15 -
P. 15

ิ
                                                                                ิ
                                                                    ิ
                                                  ์
              โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                   ื
                                     ิ

          -  การปลูก
                                                                                          ้

              การก าหนดวันปลูก  ควรกระทาในช่วงเดียวกับช่วงการปลูกของเกษตรกรในพื้นที่เปาหมาย  ก่อนการ
                                                                                      ้
              ปลูกจะต ้องวางผังทดลองให ้ถูกต ้องตามแผน และท าเครื่องหมาย (tag) เพื่อปองกันความผิดพลาด
              ของหนวยปลูก  (treatment)  โดยปลูกจากซ ้า  (replication)  ที่  1  ถึงซ ้าที่  3  และเริ่มต ้นปลูกจาก
                     ่
              แปลงย่อยที่ 1 ถึงแปลงย่อยสุดท ้ายเรียงตามล าดับ
              เพื่อให ้ระยะระหว่างต ้นมีความสม่าเสมอตามก าหนด  รวมทั้งให ้มีจานวนต ้นตรงกับความยาวของแถว


              ควรใช ้ เครื่องมือปลูกที่ก าหนดระยะปลูกได ้ เช่น corn jab หรือใช ้ รถปลูกที่สามารถควบคุมระยะปลูก
                                                                                                 ้
              การลงของเมล็ดต่อหลุม  และก าหนดความยาวของแถวได ้  ทันทีหลังจากการปลูก  ควรปองกันการ

              ทาลายของแมลงและสัตว์ศัตรูด ้วย Furadan 3G โรยบนแถวปลูกตลอดแนว









                     เตรียมแปลง                       ปลูก                              ให้น ้า                           ถอนแยก

          -  การให ้นาชลประทาน
                      ้

                                                       ็
                            ็
              ทันทีที่ปลูกเสรจสิ้นในแต่ละการทดลอง จาเปนจะต ้องมีการให ้นาเพื่อให ้เมล็ดดูดซับความชื้นส าหรับ
                                                                         ้

              การงอก  และมีการให ้นาชลประทานให ้ดินมีความชื้นในระดับ  field  capacity  อย่างสม่าเสมอ
                                      ้
              โดยเฉพาะในช่วงการออกดอก  การผสมเกษรและการสร้างเมล็ด  จนกระทั่งถึง  2  สัปดาห์ก่อนการ
                                ้

                                                                                      ้
              เก็บเกี่ยว  การให ้นาชลประทานส าหรับข ้าวโพด  สามารถทาได ้โดย  การให ้นาแบบ  flooding  หรือ
                                                                                             ้
              furrow  ในร่องปลูก  การให ้นาระบบ  mini  sprinkler  ระบบนาหยด  หรือระบบนาพุ่งเปนต ้น  มี
                                           ้
                                                                                                  ็
                                                                           ้
                                   ้
                                                      ้
                                                                                           ็
              ข ้อสังเกตว่า  การให ้นาที่ใบข ้าวโพดได ้รับนาโดยตรง  เช่นจากระบบ  sprinkler  จะเปนการช่วยให ้ใบ
              สะอาด รวมทั้งมีการชะล ้างเชื้อโรคและแมลงได ้ในระดับหนึ่งด ้วย
          -  การถอนแยก
                                                                                   ็

              เมื่อข ้าวโพดเจริญเติบโตถึงระยะ  V3  หรือในช่วง  14-21  วันหลังงอก  จ าเปนจะต ้องทาการถอนแยก

              ให ้เหลือหลุมละ  1  ต ้น  ในกรณีที่หลุมใดหลุมหนึ่งไม่มีต ้นงอก  จะทาการชดเชยในหลุมต่อไปเปน
                                                                                                        ็

              (ไม่เกิน) 2 ต ้น/ หลุม ทั้งนเพื่อให ้ในแต่ละแถวมีจานวนต ้น รวมทั้งจ านวนต ้นเก็บเกี่ยวในเบื้องต ้นแต่
                                       ี้
              ละแปลงย่อยเท่าๆกัน
                     ๋
          -  การใส่ปุย
              ตั้งแต่ข ้าวโพดเริ่มมีรากโผล่และสัมผัสกับดิน   ข ้าวโพดจะมีความต ้องการธาตุอาหารอย่างพอเพียง
              ส าหรับการเจริญเติบโตอย่างสม่าเสมอ  ดังน้น  ควรจะมีการใส่ปุยให ้กับดินตั้งแต่การเตรียมดิน  และ
                                                                        ๋

                                                       ั
              แบ่งใส่เพิ่มเติมอีก 1-2 คร้ง ทั้งน ชนิดของปุยและปริมาณของปุยที่จะใส่ให ้กับข ้าวโพด ควรเปนไป
                                                                         ๋
                                      ั
                                                                                                     ็
                                             ี้
                                                       ๋
              ตามค่าวิเคราะห์ดินและค่าวิเคราะห์พืช
              จากข ้อมูลพื้นฐานจากการวิเคราะห์ส่วนต่างๆของพืชหลังการเก็บเกี่ยว สามารถสรุปได ้ว่า ถ ้าต ้องการ
                                                                 ็

              ให ้ข ้าวโพดได ้รับผลผลิต  1,500  กิโลกรัมต่อไร่  จาเปนจะต ้องให ้ข ้าวโพดได ้รับปริมาณธาตุ  N  -
              P2O5  –  K2O  ประมาณ  30  –  10  –  30  กิโลกรัมต่อไร  แล ้วค านวนธาตุจากปุยเปนสัดส่วนกับค่า
                                                                                        ๋
                                                                                            ็
                                                                   ่
              วิเคราะห์ดิน
                                         ๋
                                                                                                        ๋


              ในกรณีนี้  แนะนาให ้มีการใส่ปุยรองพื้นพร้อมปลูกสูตร  15-15-15  จานวน  40  กิโลกรัมต่อไร  ใส่ปุย
                                                                                                   ่
              top dress คร้งที่ 1 สูตร 46-0-0 อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อข ้าวโพดอายุ 25-30 วัน หรือหลังการ
                           ั
              ถอนแยก  ซึ่งเป็นช่วงที่ข ้าวโพดมีการสร้างช่อดอกภายในล าต ้น  และ  top  dress  ครั้งที่  2  ด ้วยสูตร
                                                                                  ่
              46-0-0 อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่ + สูตร 0-0-60 อัตรา 40 กิโลกรัมต่อไร ในช่วงก่อนการออกดอก
              (45-50 วันหลังปลูก)



                                                        14
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20