Page 76 -
P. 76
ิ
์
ื
ิ
ั
ุ
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
69
พอใจต่อสภาพภูมิทัศน์ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พบว่าบุคลากรและนักศึกษามีความพงพอใจ
ึ
ต่อการจัดภูมิทัศน์ด้านภูมิทัศน์ ด้านความสะอาด และด้านความปลอดภัย จึงข้อเสนอแนะต่อการ
ี
ปรับปรุงและจัดหาให้เพยงพอ เช่น เพมสถานที่จอดรถให้เพยงพอและมีหลังคา การมีป้ายบอกทาง
ิ่
ี
ภายในมหาวิทยาลัยที่ชัดเจน ความสะอาดของโรงอาหาร ห้องน้ าสะอาด ระบบไวไฟที่เร็วและ
ครอบคลุมทุกพนที่ภายในมหาวิทยาลัย และระบบไฟส่องสว่างที่เพยงพอ ดังนั้น การศึกษาความพง ึ
ื้
ี
พอใจจ าเป็นต้องพจารณาถึงความส าคัญของการรักษาความปลอดภัยและความสะดวกสบายในพนที่
ื้
ิ
สวนเส้นทางสัญจรด้วย เนื่องจากเป็นส่วนที่มีผลต่อการเคลื่อนไหวของบุคลากรและนักศึกษาใน
ี
มหาวิทยาลัยอย่างส าคัญ อกทั้งยังสอดคล้องกับงานวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2562) ได้
ท าการศึกษาเรื่อง ความพงพอใจของบุคลากรภายในหน่วยงานสังกัดส านักงานอธิการบดีต่อ
ึ
บรรยากาศองค์การ ประจ าปี 2561 พบว่า ความพงพอใจของบุคลากรภายในหน่วยงานสังกัด
ึ
ส านักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ต่อบรรยากาศองค์การ อยู่ในระดับมาก โดยด้านมีที่
ื้
พักผ่อน และภูมิทัศน์ในที่ท างานอย่างเหมาะสมตามสภาพของพนที่ ด้านห้องน้ าสะอาดถูกสุขลักษณะ
มีค่าเฉลี่ยตามล าดับ
ึ
2. ปัจจัยที่มีผลต่อความพงพอใจที่มีต่อสภาพภูมิทัศน์พื้นที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บางเขน ได้แก่ ระดับการศึกษาของนิสิต เนื่องจากนิสิตที่มีระดับการศึกษาสูงกว่าจะมีความรู้และ
ความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับการออกแบบและการจัดการสภาพแวดล้อมมากกว่านิสิตที่มีระดับ
การศึกษาต่ ากว่า ท าให้พวกเขาสามารถประเมินคุณค่าของสภาพภูมิทัศน์ได้ดีขึ้นและมีความพงพอใจ
ึ
มากขึ้น การศึกษาที่สูงกว่ามักจะรวมถึงการเรียนรู้ที่ละเอยดและการมีมุมมองทางวิชาการที่
ี
หลากหลาย ซึ่งท าให้นิสิตที่มีระดับการศึกษาสูงสามารถเข้าใจและเห็นคุณค่าของสภาพภูมิทัศน์ใน
ระดับที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น นิสิตที่มีระดับการศึกษาต่ ากว่า เช่น นิสิตระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อาจไม่มี
ความรู้และความเข้าใจที่เพยงพอในการประเมินสภาพภูมิทัศน์ในมุมมองทางวิชาการ ซึ่งท าให้พวกเขา
ี
อาจไม่มีความพงพอใจเท่ากับกลุ่มนิสิตที่มีการศึกษาสูงกว่า การจัดกิจกรรมการศึกษาเกี่ยวกับการ
ึ
ึ
ิ่
ออกแบบและการจัดการสภาพแวดล้อมส าหรับนิสิตทุกระดับการศึกษาอาจช่วยเพมความพงพอใจใน
ิ
สภาพภูมิทัศน์ การออกแบบพนที่ภายในมหาวิทยาลัยอาจต้องพจารณาถึงการตอบสนองต่อความ
ื้
ต้องการและความคาดหวังของนิสิตที่มีระดับการศึกษาต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ
รัฐธรรมนูญ โมลาแสง และณัฎฐธิดา ตรงดี (2566) ได้ท าการศึกษาเรื่อง ความพงพอใจของนักศึกษา
ึ
ต่อการใช้บริการโรงอาหารภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร พบว่า ความพึงพอใจการใช้บริการโรง
ื้
อาหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครของนักศึกษาแตกต่างกันตามปัจจัยชั้นปีที่ศึกษา โดยมุ่งเน้นพนที่
ใช้สอยที่หลากหลาย เช่น พนที่ส าหรับการเรียนการสอน พนที่ส าหรับกิจกรรมสันทนาการ พนที่
ื้
ื้
ื้
ี
ส าหรับพกผ่อนหย่อนใจ เป็นต้น อกทั้งยังสอดคล้องกับงานวิจัยของสุภานี กลมเกลี้ยง และมณฑา
ั
ทิพย์ โสมมีชัย (2561) เกี่ยวกับความพงพอใจของนิสิตปริญญาตรีต่อการจัดการพนที่สีเขียวใน
ื้
ึ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน พบว่า นิสิตมีความพงพอใจในระดับสูงคือ ดัชนีด้าน
ึ
ื้
ที่ตั้งและสภาพแวดล้อมของพนที่สีเขียว การศึกษาเสนอให้เห็นถึงความส าคัญของการจัดการพนที่สี
ื้
เขียวให้ตรงตามวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยในการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวและมีความสุข โดยแนะน า
ว่ามหาวิทยาลัยควรมีการจัดการพื้นที่สีเขียวในด้านต่างๆ ให้มากขึ้นเพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการ