Page 46 -
P. 46

ิ
                                          ์
                              ิ
                                                                        ิ
                           ื
                                                             ิ
      โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                                        21
                                                                                         21

                                                                              ้
                                                                          ื

                                                            ้
                                             ู
                                ุ
                                                ้
                                    ิ
                                                                                          ้
                        พืชแทบทกชนดสามารถถกเขาทาลายโดยเชือราสาเหตุโรคพช เชือราสามารถเขา
                                                                                      ิ
                                                                                         ็
                 ทาลายพืชได้หนึ่งหรือหลายชนิดขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อราสาเหตุโรคพืช บางชนดเปน

                                                                         ิ
                 obligate parasites หรือด ารงชีพแบบ biotrophs ซ่งสามารถเจรญและเขาทาลายพืช
                                                                                 ้
                                                              ึ

                 หลายๆ ครั้งในช่วงระหว่างที่พชมีชีวิตอยู่ บางชนิดใช้ชีวิตแบบ nonobligate parasites
                                          ื
                                ื
                 ซึ่งเข้าท าลายต้นพชอาศยในบางช่วงของวัฏจกรชีวิตและสามารถเจรญครบวัฎจกรไดใน
                                                                                    ั
                                                                                        ้
                                                       ั
                                     ั
                                                                           ิ
                                      ื
                                                                  ื
                 อินทรีย์วัตถุหรือเศษซากพชหรือโดยสามารถเจริญได้ทั้งในพชที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต (Singh,
                 2017; Marchand et al., 2020) เชื้อราที่มีการเจริญแบบ nonobligate parasites จะ
                 สามารถด ารงชีวิตแบบ  facultative saprophytes หรือ facultative parasites ขึ้นกับ
                 แต่เดิมมชีวิตเป็นแบบ parasites หรือ saprophytes เชื้อราบางชนิดสามารถเจรญแบบ
                        ี
                                                                                     ิ
                 เซลล์เดี่ยว (unicellular) หลายเซลล์ (multicellular) มีการสร้างเส้นใยเป็นกลุ่มลักษณะ
                 เป็นโคโลนีหรือแบบดอกเห็ด (Spanu et al., 2024)

                 2.1 ลักษณะทางสณฐานวทยาของเชอราสาเหตโรคพช (Morphological
                                                       ื
                                                       ้
                                                                         ื
                                            ิ
                                    ั
                                                                   ุ
                 Charecteristics of Plant Pathogenic Fungi)
                                                                       ้
                                                                                      ี
                                                              ่
                                                                               ้
                         ั
                        ลกษณะทางสณฐานวิทยาของเชือราสวนใหญจะสร้างเสนใยเป็นเสนสายเรยกว่า
                                   ั
                                                       ่
                                                   ้
                 mycelium ซึ่งเส้นใยเหล่านี้สามารถแตกแขนงได้ทุกทิศทาง แต่ละแขนงของเส้นใยที่แตก
                 ออกมาเรียกว่า hyphae มีเส้นผ่าศูนย์กลางขนาด 2-10 ไมครอน แต่บางชนิดมีเส้นใยขนาด
                                                                            ่
                 ใหญ่หนาถึง 100 ไมครอน ความยาวอาจยาวเพียง 2-3 ไมโครเมตร แตบางชนิดอาจยาว
                 หลายเมตร (Agrios, 2005; Frost, 2019) บางชนิดเส้นใยประกอบด้วยหนึ่งหรือสอง
                 นิวเคลียสต่อเซลล์ บางชนิดมีหลายนิวเคลียสและมีผนังกั้นเรียกว่า septate บางชนิดไม่มี
                 ผนังกั้นเรียกว่า nonseptate (ภาพที่ 2.2) ราชั้นต่ าบางชนิดจะไม่สร้างเส้นใยที่แท้จริงแต่
                 สร้าง rhizomycelium (Islam et al., 2017; Spanu et al., 2024)






                                                 A                                      B
                 ภาพที่ 2.2 ลักษณะของเส้นใยเชื้อรา A. ลักษณะของเส้นใยเชื้อราที่มีผนังกั้นและ
                 B. เส้นใยที่ไม่มีผนังกั้นมีหลายนิวเคลียสในเส้นใย
                 ที่มา: Islam et al., 2017
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51