Page 10 - agebook
P. 10
์
ิ
ิ
ื
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทคดยอ
ั
ศึกษาการใหแคลเซียมคลอไรดทางใบในระหวางการพัฒนาฝกเพื่อรักษาคุณภาพมะขามหวานพันธุสีทอง
โดยใหแคลเซียมคลอไรดความเขมขน 0% (กรรมวิธีควบคุม) 0.25% และ 0.5% จำนวน 3 ครั้ง อัตรา 20 ลิตรตอตน
่
ในระยะ 6 7 และ 8 เดือนหลังดอกบาน แลวเก็บเกี่ยวผลผลิตในระยะฝกสุกแกเต็มท พบวา มะขามหวานที่ไดรับ
ี
ุ
แคลเซียมคลอไรด 0.5% มีปริมาณผลผลิตตอตน น้ำหนักฝก ขนาดฝก และความแนนเนื้อฝกสูงสุด สำหรับคณภาพของ
็
ั
ี
ี
ี่
มะขามหวาน ไดแก ปริมาณของแขงที่ละลายน้ำได ปริมาณกรดทไทเทรตได และปริมาณวิตามินซไมมความแตกตางกน
ิ
ุ
้
ี่
ี
ี
็
่
ในทกกรรมวิธี สวนการเกดเชือราในมะขามหวานหลังการเกบเกยว พบวา มะขามหวานทไดรับแคลเซยมคลอไรด 0.5%
3
มีปริมาณเชื้อราทั้งหมดต่ำสุด คือ 3.6x10 CFU/g เมื่อเก็บรักษาที่อุณหภูมิหอง (30+2 องศาเซลเซียส) เปนเวลา
3 เดือน พบวา การเกิดเชื้อราในมะขามหวานเพิ่มขึ้นตามอายุการเก็บรักษา โดยมะขามหวานที่ไดรับแคลเซียมคลอไรด
3
0.5% มีปริมาณเชื้อราทั้งหมดต่ำสุด คือ 5.0x10 CFU/g การเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ำ (2+0.5 องศาเซลเซียส) สามารถ
ชะลอการเกิดเชื้อราในมะขามหวานได โดยมะขามหวานที่ไดรับแคลเซียมคลอไรด 0.5% มีปริมาณเชื้อราทั้งหมดต่ำสุด
3
่
คือ 3.9x10 CFU/g จากการทดลองนี้การใหแคลเซียมคลอไรดทางใบทีความเขมขน 0.5% ในระหวางการพัฒนาของฝก
ึ้
ทำใหไดผลผลิตทเพมขน มีคุณภาพดีและอายุการเก็บรักษานานขึ้น
ี่
ิ่
ุ
คำสำคัญ: แคลเซยมคลอไรด คณภาพผลผลิต มะขามหวาน
ี
บทนำ
มะขามหวานเปนพืชอัตลักษณของจังหวัดเพชรบูรณและเปนพืชเศรษฐกิจที่สรางรายไดหลักใหแกเกษตรกร
ในป 2565 จังหวัดเพชรบูรณมีพื้นที่ปลูกมะขามหวานจำนวน 86,846 ไร ผลผลิตรวม 41,837 ตัน คิดเปนมูลคา 2,279
ลานบาท (กรมสงเสริมการเกษตร, 2565) พื้นที่ปลูกสวนใหญอยูในอำเภอเมืองเพชรบูรณ หลมสักและหลมเกา เกษตรกร
ผูปลูกมะขามหวานหลายรายพบปญหาการสูญเสียคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวและการเกิดเชื้อราในระหวางการเก็บรักษา
เพื่อรอจำหนาย เนื่องจากมะขามหวานเมื่อสุกแกเปลือกของฝกจะแหงกรอบทำใหงายตอการเขาทำลายของเชื้อรา
ี
ซึ่งโรคเชื้อราในฝกเปนปญหาที่เกษตรกรพบบอยและยากที่จะปองกัน ในปจจุบันมการใชแคลเซียมซึ่งเปนธาตุอาหารรอง
มาชวยในการลดการสูญเสียคุณภาพผลไมทั้งกอนและหลังการเก็บเกี่ยว เนื่องจากแคลเซยมมบทบาทสำคัญในโครงสราง
ี
ี
ของผนังเซลลในการเชื่อมเพกตินที่เปนองคประกอบของผนังเซลลทำใหเซลลมีความแข็งแรง (Poovaiah and Reddy,
1993) ความเขมขนของแคลเซียมในผลไมเปนปจจัยสำคัญที่บงบอกถึงคุณภาพโดยผลไมที่มีความเขมขนของแคลเซียมต่ำ
มักจะเกิดความผิดปกติทางสรีรวิทยา เชื้อโรคเขาทำลายไดงาย และมีอายุการเก็บรักษาสั้น (Fallahi et al., 2010)
่
การพนแคลเซียมเพือเพิ่มปริมาณแคลเซียมแกผลเปนแนวทางการปฏิบัติที่ไดรับความนิยมแพรหลายในไมผลหลายชนิด
เพื่อชวยทำใหผนังเซลลคงความแข็งแรงและเพิ่มความแข็งแรงของแรงดึงระหวางเซลลพืช (เฉลิมชัย, 2561) นอกจากนี ้
การใหแคลเซียมยังทำใหเซลลพืชตานทานการเขาทำลายของเชื้อสาเหตุโรคไดดีขึ้น Kaiser et al. (2001) รายงานวา
การใชแคลเซียมคลอไรดมีประสิทธิภาพดีตอการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราโรคผลเนาในผลเงาะหลังการเกบ
็
เกี่ยว หรือการใชแคลเซียมไนเตรทและแคลเซียมคลอไรดกับผลมะมวงทั้งกอนและหลังการเก็บเกี่ยวลดการเจริญของ
สาเหตุโรคแอนแทรคโนส และโรคผลเนา เชนเดียวกับ Bender (1998) ไดทำการทดลองพนแคลเซียมคลอไรดทางใบ
ความเขมขน 1.5 เปอรเซ็นต ที่ระยะ 30 วันกอนเก็บเกี่ยว พบวา ชวยเพิ่มปริมาณผลผลิตและลดการหลุดรวงของ
ผลมะมวง สงเสริมการเพิ่มคุณภาพผลผลิตในดานความแนนเนื้อผลและปองกันการสลายตัวของชั้นมิดเดิลลาเมลลา
ชวยชะลอการสุกแก ลดอัตราการหายใจและการสูญเสียน้ำหนักของมะมวงหลังการเก็บเกี่ยว อยางไรก็ตามการพน
แคลเซียมในไมผลแตละชนิดมีระยะเวลาการฉีดพนและความเขมขนที่แตกตางกัน ซึ่งในมะขามหวานยังไมมีงานวิจัยท ่ ี
ื
เกี่ยวของ ดังนั้นการทดลองนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการใหแคลเซียมคลอไรดทางใบในความเขมขนที่เหมาะสมเพอ
่
รักษาคณภาพและลดความเสียหายทเกดจากเชือราในผลผลิตมะขามหวานหลังการเกบเกยว
็
ี
่
ี
ิ
ุ
่
้
2