Page 37 -
P. 37
18 19
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
ิ
์
อากาศยานต่างชาติจะผ่านเข้ามาในเขตน่านน้ำภายในของรัฐชายฝั่ง เรือต่างชาติ หรืออากาศยาน 5.3 เขตต่อเนื่อง (Contiguous Zone)
ต่างชาตินั้นจะต้องขออนุญาตรัฐชายฝั่งก่อน ดังแสดงในภาพที่ 1.7 ประเทศไทยมน่านน้ำภายใน เขตต่อเนื่อง คือ พื้นที่ที่อยู่ถัดจากทะเลอาณาเขตออกไปในทะเลอก 12 ไมล์ทะเล เป็นส่วน
ี
ี
่
ื้
่
่
่
่
ิ
ทั้งหมด 5 บริเวณ ได้แก่ พื้นที่บริเวณอาวไทยตอนในรูปตัว ก (อาวประวัติศาสตร์) พนที่บริเวณแหลม ขยายจากขอบนอกของทะเลอาณาเขต โดยเขตนอกสดของเขตตอเนองตองมีระยะไมเกน 24 ไมล ์
ื
้
ุ
ลิงถึงหลักเขตแดนไทย-เขมร พนที่บริเวณตั้งแต่แหลมใหญ่ถึงแหลมหน้าถ้ำ พนที่บริเวณตั้งแต่เกาะ ทะเลจากเส้นฐาน รัฐชายฝั่งมีอำนาจควบคุมตามความจำเป็นเพอป้องกันการฝ่าฝืนกฎหมายและ
ื้
ื่
ื้
ภูเก็ตถึงพรมแดนไทย-มาเลเซีย และพื้นที่บริเวณตั้งแต่เกาะกงออกถึงพรมแดนไทย-มาเลเซีย ข้อบังคับเกี่ยวกับศุลกากร (customs) การคลง (fiscal) การเข้าเมือง (immigration) หรือสุขาภิบาล
ั
(sanitation) ภายในอาณาเขตหรือทะเลอาณาเขต โดยจะมีบทลงโทษหากมการละเมิด นอกจากนี้รัฐ
ี
ชายฝั่งยังมีหน้าที่คุ้มครองวัตถุโบราณหรือวัตถุสำคัญทางประวัติศาสตร์ที่พบใต้ท้องทะเลในเขต
ต่อเนื่อง หากมีการเคลื่องย้ายวัตถุโบราณโดยไม่ได้รับอนุญาตจากรัฐชายฝั่ง รัฐชายฝั่งอาจสันนิษฐาน
ว่าการกระทำดังกล่าวเป็นการฝ่าฝืนกฎหมายของรัฐชายฝั่งได้
5.4 เขตเศรษฐกิจจำเพาะ (Exclusive Economic Zone: EEZ)
ื
เขตเศรษฐกจจำเพาะ คอ บริเวณที่อยู่ถัดจากเขตต่อเนื่องออกไปในทะเล โดยวัดระยะจาก
ิ
เสนฐานออกไปในทะเลไม่เกิน 200 ไมล์ทะเล รัฐชายฝั่งมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจ การแสวงหา
้
ประโยชน์ การอนุรักษ์ และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ในน้ำ บนพนดิน
ื้
ใต้ท้องทะเล และใต้พนดินใต้ท้องทะเล รัฐมีอำนาจในการแสวงหาประโยชน์และการสำรวจทาง
ื้
เศรษฐกิจ เช่น การผลิตพลังงานจากน้ำ กระแสน้ำ และลม รัฐชายฝั่งมีสิทธิแต่เพยงผู้เดียวในการสร้าง
ี
การอนุญาตให้สร้าง และการควบคุมการก่อสร้างเกาะเทียม สิ่งติดตั้งหรือสิ่งก่อสร้างเพื่อทำการสำรวจ
์
ิ
ู
และแสวงหาประโยชนจากทรัพยากรทอย่ภายในบรเวณเขตเศรษฐกจจำเพาะ โดยขอบเขตของเขต
่
ิ
ี
เศรษฐกิจจำเพาะของประเทศไทยแสดงดังภาพที่ 1.7
5.5 เขตไหล่ทวีป (Continental Shelf)
เขตไหล่ทวีป คือ พนดินท้องทะเล (sea bed) และดินผิวใต้ดิน (subsoil) ของบริเวณใต้ทะเล
ื้
ซ่งขยายเลยทะเลอาณาเขตของรฐตลอดสวนต่อออกไปตามธรรมชาติ (natural prolongation) ของ
ึ
่
ั
ภาพที่ 1.7 แผนที่แสดงอาณาเขตทางทะเลของประเทศไทย
ึ
ิ
ิ
ที่มา: คณะอนุกรรมการจัดการความรู้เพื่อผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล (2566) ดนแดนทางบกของตนจนถงรมนอกของขอบทวีป (continental margin) มีระยะทางไม่เกิน 350
้
ไมล์ทะเลจากเสนฐาน หรือเลยออกไปไม่เกิน 100 ไมล์ทะเล จากเส้นชันความลึก (contouring)
5.2 ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) 2,500 เมตร (ภาพที่ 1.6) รัฐชายฝั่งมีสิทธิอธิปไตย (sovereign rights) เหนือทรัพยากรธรรมชาติบน
ทะเลอาณาเขต คือ น่านน้ำชายฝั่งของรัฐชายฝั่งที่วัดจากเส้นฐานออกไปในทะเล โดยมีความ และใต้ไหล่ทวีป ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิต โดยทรัพยากรดังกล่าวเมื่อถึง
เวลานำไปใช้ประโยชน์ต้องไม่เคลื่อนที่ไปบนพื้นท้องทะเล หรือเคลื่อนไหวได้โดยต้องสัมผัสกันพนท้อง
ื้
ื
กว้างไม่เกิน 12 ไมล์ทะเล รัฐชายฝั่งมีอำนาจอธิปไตย (sovereign rights) เหนอทะเลอาณาเขตของ
ทะเลเสมอ เช่น ปะการัง ฟองน้ำ หอย ปู และกุ้ง เป็นต้น ในกรณีททรัพยากรนั้นเคลื่อนที่ได้ ไม่อยู่กับ
ี่
ตน รวมไปถงอำนาจอธิปไตยในห้วงอากาศ (air space) เหนอทะเลอาณาเขต จนถึงพนดินใต้ท้อง
ื้
ื
ึ
ื่
ที่ และอาศัยอยู่ในมวลน้ำนอกเขตเศรษฐกิจจำเพาะ แต่ยังอยู่ในบริเวณเขตไหล่ทวีป ให้ถือว่ารัฐอนมี
ทะเล (sea-bed) และใต้พื้นดิน (subsoil) ใต้ท้องทะเลอาณาเขตด้วย
ความหมายและขอบเขตของทรััพยากรัทางทะเลและชายฝั่่�ง 19
8/8/2567 10:48:44
���������������������������������� �.�������� ���������.indd 19
���������������������������������� �.�������� ���������.indd 19 8/8/2567 10:48:44